ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานนานาชาติเบตง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritapas penbunprasert (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kritapas penbunprasert (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47:
2.ก่อสร้างทางวิ่ง ทางขับ ลานจอดอากาศยาน และอื่น ๆ โดยก่อสร้างทางวิ่งขนาด 30X1,800 เมตร รองรับอากาศยานขนาด 80 ที่นั่ง (ATR-72/Q-400) ทางขับ (Taxi Way) ประกอบด้วยทางขับ A ขนาด 18X587 เมตร ทางขับ B ขนาด 18X115 เมตร ลานจอดเครื่องบินขนาด 94X180 เมตร สามารถจอดอากาศยานได้จำนวน 3 ลำ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2562
 
3. ก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสารขาเข้า - ขาออก และสายพานรับกระเป๋าสัมภาระ รวมมีพื้นที่ 7,000 ตารางเมตร สามารถรองรับผู้โดยสารขาออกได้จำนวน 300 คน/ชั่วโมง รองรับผู้โดยสารได้ 500,000 คน/ปี ขณะนี้มีความคืบหน้าการก่อสร้างเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในวันที่เนื่องจากสภาพอากาศเอื้ออำนวย 28 กุมภาพันธ์ 2562และไม่มีอุปสรรคที่ส่งผลกระทบต่อการก่อสร้างท่าอากาศยานเบตง
 
นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นประธานพิธีวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างท่าอากาศยานเบตง จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2560 ณ ท่าอากาศยานเบตง จังหวัดยะลา
บรรทัด 54:
โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งวันที่ 10 พ.ย. มีพิธีวางศิลาฤกษ์ “สนามบินเบตง” ปลุก ศก.-ท่องเที่ยว 3 จังหวัดชายแดนใต้ โดยบริษัท เนาวรัตน์พัฒนาการ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ชนะการเสนอราคาในเฟสแรก คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2562
 
ล่าสุด คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560 อนุมัติให้ขยายทางวิ่งท่าอากาศยานเบตงเพิ่มอีก 300 เมตรจากเดิม 1,800 เมตร เพิ่มเป็น 2,100 เมตร เพื่อให้สามารถรองรับอากาศยานขนาดใหญ่ อย่างแอร์บัส เอ-319 , เอ-320 และโบอิ้ง 737 ของสายการบินไทยแอร์เอเชีย นกแอร์ การบินไทยสมายล์ และสายการบินบางกอกแอร์เวยส์ได้อีกด้วย
 
ข้อมูลจากฝ่ายอาคารและงานก่อสร้างท่าอากาศยานเบตง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2560 ความคืบหน้าด้านการก่อสร้างทางวิ่ง ทางขับ และลานจอดเครื่องบิน มีความคืบหน้าได้ผลงานสะสม 32.22 % ส่วนด้านของที่ดินเพิ่มเติมเพื่อขยายรันเวย์เพื่อรองรับอากาศยานขนาด 2 เครื่องยนต์ ได้จัดซื้อเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จำนวน 164 แปลง และยังจัดซื้อไม่เสร็จสิ้นอีกประมาณ 10 ไร่ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างดำเนินการออก พ.ร.ฎ.เวนคืนที่ดินเพิ่มเติม ด้วยวงเงินงบประมาณประจำปี 2561 จำนวน 1,316 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินการ 990 วัน ซึ่งการควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสารของท่าอากาศยานเบตง มีกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา บริษัท วี เอ็นจิเนียริ่ง คอนซันแตนท์ จำกัด และบริษัท กรุงเทพ เอ็นจิเนียริ่งคอนซันแตนท์ จำกัด เป็นผู้ชนะการเสนอราคา ด้วยวงเงินประมูล 5,057,890 บาท ซึ่งทั้งสองบริษัทจะเป็นผู้ควบคุมและดูแลการก่อสร้างโครงการท่าอากาศยานเบตงจนแล้วเสร็จ พร้อมเปิดให้บริการได้ตามกำหนด ภายในต้นปี 2563
 
 
''' สายการบินที่คาดว่าจะอาจเปิดให้บริการทำการบิน '''
<!-- เรียงตามพยัญชนะไทย -->
{| class="wikitable" style="font-size: 90%"
เส้น 65 ⟶ 66:
| [[นกแอร์]] || [[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง]] || redcolor = "#33FFCC"|'''อยู่ระหว่างดำเนินการด้านใบอนุญาต'''
|-
| [[บางกอกแอร์เวย์]] || [[ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ]] || redcolor = "#33FFCC"|'''อยู่ระหว่างดำเนินการด้านใบอนุญาต'''
|-
| [[ไทยแอร์เอเชีย]] || [[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง]] || redcolor = "#33FFCC"|'''แสดงความจำนงทำการบินหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ'''
|-
| [[การบินไทยแอร์เอเชียสมายล์]] || [[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองสุวรรณภูมิ]] || redcolor = "#33FFCC"|'''แสดงความจำนงทำการบินหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ'''
|-
|}