ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซลล์รับกลิ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน ย้ายหัวข้อการแยกแยะกลิ่นไปยังระบบรู้กลิ่น
บรรทัด 27:
 
== โครงสร้างและการทำงาน ==
[[มนุษย์]]มีเซลล์ประสาทรับกลิ่นประมาณ 12 ล้านตัว<ref name=Purves2008a-F15.2>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Figure 15.2 Odorant perception in mammals., p. 366 }}</ref>
ซึ่งจะเปลี่ยนทุก ๆ 30-60 วันทดแทนด้วยเซลล์ต้นกำเนิดชั้นฐาน (basal stem cell) ที่พัฒนากลายเป็นเซลล์ประสาทรับกลิ่น<ref name=Kandel2013-p713-716>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013 | loc = A Large Number of Olfactory Receptor Proteins Initiate the Sense of Smell, 713-716 }}</ref>
เทียบกับหนูที่มี 15 ล้านตัว<ref>{{harvnb | name=Purves et al |2008a | loc = Figure -F15.2 Odorant perception in mammals, p. 366 }}</ref>
กับสุนัขทั่วไปที่มี 125-220 ล้านตัว และกับสุนัข[[บลัดฮาวด์]]ที่มีถึง 300 ล้านตัว<ref>{{cite book | authors = Coren, Stanley | year = 2004 | title = How Dogs Think | publisher = First Free Press, Simon & Schuster | pages = 0-7432-2232-6 }}</ref>
 
บรรทัด 58:
มียีนประมาณ 1,000 ยีนที่[[เข้ารหัส]]ตัวรับความรู้สึกในมนุษย์ ทำให้เป็นกลุ่มยีนขนาดใหญ่ที่สุดในดีเอ็นเอมนุษย์
โมเลกุลกลิ่นจะละลายในเมือกของเยื่อรับความรู้สึกแล้วจับกับหน่วยรับความรู้สึก โดยแต่ละหน่วยสามารถจับกับโมเลกุลกลิ่นได้หลายชนิด แม้จะมีสัมพรรคภาพต่อกลิ่นต่าง ๆ ไม่เท่ากัน
ความต่าง ๆ ทางสัมพรรคภาพเช่นนี้ จะเป็นเหตุเกิดการตอบสนองในรูปแบบต่าง ๆ โดยเป็นโปรไฟล์การตอบสนองต่อกลิ่นโดยเฉพาะ ๆ<ref>{{cite journal | doi = 10.1093/chemse/bjh050 | pmid = 15269120 | title = Olfactory Receptor Neuron Profiling using Sandalwood Odorants | journal = Chemical Senses | volume = 29 | issue = 6 | pages = 483-7 | year = 2004 | last1 = Bieri | first1 = S. | last2 = Monastyrskaia | first2 = K | last3 = Schilling | first3 = B }}</ref><ref>{{cite journal | doi = 10.1006/dbio.2000.9972 | pmid = 11133158 | title = Onset of Odorant Receptor Gene Expression during Olfactory Sensory Neuron Regeneration | journal = Developmental Biology | volume = 229 | issue = 1 | pages = 119-27 | year = 2001 | last1 = Fan | first1 = Jinhong | last2 = Ngai | first2 = John }}</ref>
 
หน่วยรับกลิ่นที่จับกับโมเลกุลกลิ่นจะทำให้เกิดการส่งสัญญาณเป็นลำดับภายในเซลล์ ซึ่งในที่สุดก็ทำให้เซลล์[[การลดขั้ว|ลดขั้ว]]แล้วส่ง[[ศักยะงาน]]ไปยังป่องรับกลิ่น<ref name=Kandel2013-p714-715>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013 | loc = Mammals Share a Large Family of Odorant Receptors, 714-715 }}</ref>
โดยรายละเอียดก็คือ เมื่อจับกับกลิ่นแล้ว หน่วยรับกลิ่นจะเปลี่ยนโครงสร้างแล้วเริ่มการทำงานของ G protein ภายใน[[เซลล์รับกลิ่น]]ซึ่งอยู่ที่ปลาย carboxyl ของหน่วยรับกลิ่น
G protein (G<sub>olf</sub> และ/หรือ G<sub>s</sub>)<ref name="pmid2499043">{{cite journal | authors = Jones, DT; Reed, RR | title = Golf: an olfactory neuron specific-G protein involved in odorant signal transduction | journal = Science | volume = 244 | issue = 4906 | pages = 790-5 | date = 1989-05 | pmid = 2499043 | doi = 10.1126/science.2499043 | bibcode = 1989Sci...244..790J }}</ref>
ซึ่งเป็นประเภทที่เฉพาะต่อระบบรับกลิ่น ก็จะเริ่มการทำงานของ[[เอนไซม์]] adenylate cyclase III (ACIII) ซึ่งเป็น[[เอนไซม์]]เฉพาะในระบบรับกลิ่นเช่นกัน และเพิ่มการปล่อย cyclic AMP (cAMP) ซึ่งทำหน้าที่เป็น [[second messenger]] โดยอาศัย[[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต]] (ATP)
แล้ว cAMP ก็จะเปิด[[ช่องไอออน]] cyclic nucleotide-gated ion channel ทำให้ไอออนแคลเซียม (Na<sup>+</sup>) และโซเดียม (Ca<sup>2+</sup>) ซึมเข้ามาในเซลล์ได้ แล้วทำให้เซลล์รับกลิ่น[[การลดขั้ว|ลดขั้ว]] (depolarized)
นอกจากนั้น Ca<sup>2+</sup> ที่เพิ่มขึ้นก็จะเปิดช่องไอออน Ca<sup>2+</sup>-gated Cl<sup>-</sup> channel ซึ่งขยายการลดขั้วของเซลล์ที่แพร่กระจายไปตามตัวเซลล์อย่างแพสซิฟจนถึงส่วน axon hillock ของตัวเซลล์ ซึ่งเป็นจุดที่สร้างศักยะงานอาศัยช่องไอออน voltage-regulated Na<sup>+</sup> channel เพื่อส่งไปยังป่องรับกลิ่น<ref name=Purves2008-p375-378>{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = The Transduction of Olfactory Signals, pp. 375-378 }}</ref>
 
=== การลดการตอบสนองของเซลล์รับกลิ่น ===
บรรทัด 77:
CaMKII ยังเริ่มการทำงานของ phosphodiesterase ซึ่งจะสลาย cAMP ด้วยน้ำ<ref>{{cite journal | last1 = Yan | first1 = C | last2 = Zhao | first2 = AZ | last3 = Bentley | first3 = JK | last4 = Loughney | first4 = K | last5 = Ferguson | first5 = K | last6 = Beavo | first6 = JA | year = 1995 | title = Molecular cloning and characterization of a calmodulin-dependent phosphodiesterase enriched in olfactory sensory neurons | journal = Proc Natl Acad Sci USA | volume = 92 | pages = 9677-9681 | doi = 10.1073/pnas.92.21.9677}}</ref>
กระบวนการป้อนกลับเชิงลบจะมีผลยับยั้งไม่ให้เซลล์ตอบสนองเมื่อมีโมเลกุลกลิ่นเข้ามาอีก
 
== การแยกแยะกลิ่น ==
งานศึกษาที่ได้เผยแพร่อย่างกว้างขวางเสนอว่า มนุษย์สามารถตรวจจับกลิ่นได้กว่า 1 ล้านล้านกลิ่น<ref>{{cite journal | doi = 10.1126/science.1249168 | pmid = 24653035 | title = Humans Can Discriminate More than 1 Trillion Olfactory Stimuli | journal = Science | volume = 343 | issue = 6177 | year = 2014 | last1 = Bushdid | first1 = C. | last2 = Magnasco | first2 = M. O. | last3 = Vosshall | first3 = L. B. | last4 = Keller | first4 = A. | bibcode = 2014Sci...343.1370B | pages = 1370-2 | pmc = 4483192}}</ref>
แต่นักวิชาการอื่นก็คัดค้านผลงานนี้
โดยอ้างว่า วิธีที่ใช้ประเมินมีข้อผิดพลาดโดยหลัก และแสดงว่า ถ้าใช้วิธีเดียวกันกับ[[ประสาทสัมผัส]]ที่มีข้อมูลและความเข้าใจที่ดีกว่า เช่นการเห็นหรือการได้ยิน ก็จะนำไปสู่ข้อสรุปผิด ๆ<ref>{{cite journal | doi = 10.7554/eLife.07865 | title = On the dimensionality of odor space | last1 = Meister | first1 = Markus | volume = 4 | journal = eLife}}</ref>
นักวิจัยอื่น ๆ แสดงแล้วด้วยว่า ผลคือจำนวณที่ได้จะไวมากต่อรายละเอียดต่าง ๆ ในการคำนวณ
และความแตกต่างเล็ก ๆ น้อย ๆ จะเปลี่ยนผลที่ได้โดยเป็น[[อันดับของขนาด]]เริ่มตั้งแต่ถึงโหล ๆ จนถึง 2-3 พัน<ref>{{cite journal | doi = 10.7554/eLife.08127 | title = The number of olfactory stimuli that humans can discriminate is still unknown | first1 = Richard C. | last1 = Gerkin | first2 = Jason B. | last2 = Castro | volume = 4 | journal = eLife}}</ref>
ส่วนนักวิชาการในงานศึกษาแรกก็ได้อ้างว่า ค่าประเมินของตนจะใช้ได้ตราบเท่าที่สามารถสมมุติได้ว่า โมเลกุลกลิ่นมีจำนวน[[มิติ]]ต่าง ๆ อย่างเพียงพอ<ref>{{Cite doi | 10.1101/022130}} {{PDFlink |[https://www.biorxiv.org/content/biorxiv/early/2015/07/06/022103.full.pdf Full Article] |241&nbsp;KB}}<!-- Marcelo O. Magnasco, Andreas Keller, and Leslie B. Vosshall (2015-07-06) On the dimensionality of olfactory space--> </ref>
 
นักเคมีเกี่ยวกับกลิ่นได้ประเมินว่า มนุษย์อาจสามารถแยกแยะกลิ่น[[ระเหย]]ได้ถึง 10,000 รูปแบบ โดยที่ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับของหอมอาจแยกแยะกลิ่นได้ถึง 5,000 ชนิด และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ[[ไวน์]]อาจแยกแยะส่วนผสมได้ถึง 100 อย่าง<ref name=Kandel2013-p712-713>{{harvnb | Buck | Bargmann |2013 | pp = 712-713 }}</ref>
โดยสามารถรู้กลิ่นต่าง ๆ ได้ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ กัน เช่น สามารถรู้กลิ่นสารกลิ่นหลักของ[[พริกชี้ฟ้า]] คือ (2-isobutyl-3-methoxypyrazine) ในอากาศที่ความเข้มข้น 0.01 [[นาโนโมล]] ซึ่งประมาณเท่ากับ 1 [[โมเลกุล]]ต่อ 1,000 ล้านโมเลกุล สามารถรู้กลิ่น[[เอทานอล]]ที่ความเข้มข้น 2 [[มิลลิโมล]]
และสามารถรู้กลิ่นโครงสร้างทางเคมีที่ต่างกันเล็กน้อยในระดับโมเลกุล เช่น D-carvone และ L-carvone จะมีกลิ่นเหมือน[[เทียนตากบ]]และ[[มินต์ (พืช)|มินต์]]ตามลำดับ<ref name=Purves2008-p365-368 />
 
ถึงกระนั้น การได้กลิ่นก็พิจารณาว่าเป็นประสาทสัมผัสที่แย่ที่สุดอย่างหนึ่งในมนุษย์ โดยมีสัตว์อื่น ๆ ที่รู้กลิ่นได้ดีกว่า เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเกินกว่าครึ่ง ซึ่งอาจเป็นเพราะมนุษย์มีประเภท[[หน่วยรับกลิ่น]]ที่น้อยกว่า และมีเขตใน[[สมองส่วนหน้า]]ที่อุทิศให้กับการแปลผลข้อมูลกลิ่นที่เล็กกว่าโดยเปรียบเทียบ<ref name=Purves2008-p365-368>
{{harvnb | Purves et al |2008a | loc = Olfactory Perception in Humans, pp. 365-368 }}</ref><ref>
{{harvnb | Saladin |2010a | loc = Smell: Physiology, pp. 597-599 (613-615) }}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==