ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพิธีตรียัมปวาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GTK (คุย | ส่วนร่วม)
GTK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พระราชพิธีตรียัมปวาย''' เป็น[[พิธีกรรม]]ใน[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] เป็นการรับเสด็จพระอิศวรที่จะเสด็จมาเยี่ยมโลกมนุษย์
'''พระราชพิธีตรียัมปวาย''' เป็น[[พิธีกรรม]]ใน[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] เป็นการรับเสด็จพระศวรที่จะเสด็จมาเยี่ยมโลกมนุษย์เป็นเวลา 10 วัน ปัจจุบันประกอบการพระราชพิธีใน[[เทวสถาน โบสถ์พราหมณ์|เทวสถานสำหรับพระนคร]] 2 หลัง ได้แก่ สถานพระอิศวร (สถานใหญ่ หรือโบสถ์ใหญ่) สถานพระมหาวิฆเนศวร (สถานกลาง หรือโบสถ์กลาง) โดยมีกำหนดพิธี เริ่มตั้งแต่คณะพราหมณ์ผู้ประกอบพระราชพิธี เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานเทวรูปหลวง ประกอบด้วย พระอิศวร พระอุมา และมหาวิฆเนศ ระหว่างนั้น คณะพราหมณ์ผูกพรต กระทำการสวดบูชาสรรเสริญ และยกอุลุบ (การถวายเครื่องบูชาใส่โตก สวดคำถวาย)เป็นการพิเศษทุกคืน โดยมีเครื่องถวายสักการะ ประกอบด้วย ข้าวตอก กล้วย ส้ม เป็นต้น จากนั้น จึงเชิญกระดานแกะสลักรูปพระอาทิตย์ พระจันทร์ พระธรณี ลงวางในหลุม หมายถึงการเชิญเทวดาเหล่านั้นมารับเสด็จ เดิมมีกำหนดวันสำหรับโลกบาลทั้งสี่ (นาลิวัน)กระทำการโล้ชิงช้าถวาย และมีการรำเสนงสาดน้ำเทพมนต์ ปัจจุบัน วันสุดท้ายของพระราชพิธี มีการเชิญเทวรูปขึ้นภัทรบิฐบูชากลศ สังข์ เบญจคัพย์ แล้วจึงเชิญขึ้นหงษ์ ทำช้าหงษ์ส่งพระเปนเจ้า รุ่งขึ้น เชิญเครื่องบูชาพวกข้าวตอก กล้วย ส้ม เข้าไปถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการยกอุลุบ สวดถวายพระมหากษัตริย์ เป็นเสร็จการพระราชพิธี
เป็นเวลา 10 วัน ปัจจุบันประกอบการพระราชพิธีใน[[เทวสถาน โบสถ์พราหมณ์|เทวสถานสำหรับพระนคร]] 2 หลัง ได้แก่ สถานพระอิศวร
ในรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีตรียัมพวายให้พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยตั้งเครื่องบูชา ข้าวตอก กล้วย ส้ม เช่นตั้งหน้าเทวรูปในเทวสถาน และให้ราชบัณฑิตสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ และยกอุลุบถวายเช่นในเทวสถาน แต่เปลี่ยนคำเป็นการถวายบูชาพระพุทธเจ้า
(สถานใหญ่ หรือโบสถ์ใหญ่) สถานพระมหาวิฆเนศวร (สถานกลาง หรือโบสถ์กลาง) โดยมีกำหนดพิธี เริ่มตั้งแต่คณะพราหมณ์ผู้ประกอบ
แต่เดิมนั้นพระราชพิธีตรียัมปวายจะจัดในเดือนอ้าย(ธันวาคม) ครั้นล่วงเข้าสู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์จึงได้เปลี่ยนมาจัดในเดือนยี่ (มกราคม) พิธีนี้ถือเป็นพิธีขึ้นปีใหม่ของพราหมณ์
พระราชพิธี เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานเทวรูปหลวง ประกอบด้วย พระอิศวร พระอุมา และมหาวิฆเนศ ระหว่างนั้น คณะพราหมณ์ผูกพรต กระทำ
การสวดบูชาสรรเสริญ และยกอุลุบ (การถวายเครื่องบูชาใส่โตก สวดคำถวาย)เป็นการพิเศษทุกคืน โดยมีเครื่องถวายสักการะ ประกอบด้วย
ข้าวตอก กล้วย ส้ม เป็นต้น จากนั้น จึงเชิญกระดานแกะสลักรูปพระอาทิตย์ พระจันทร์ พระธรณี ลงวางในหลุม หมายถึงการเชิญเทวดาเหล่านั้น
มารับเสด็จ เดิมมีกำหนดวันสำหรับโลกบาลทั้งสี่ (นาลิวัน)กระทำการโล้ชิงช้าถวาย และมีการรำเสนงสาดน้ำเทพมนต์ ปัจจุบัน วันสุดท้ายของ
พระราชพิธี มีการเชิญเทวรูปขึ้นภัทรบิฐบูชากลศ สังข์ เบญจคัพย์ แล้วจึงเชิญขึ้นหงษ์ ทำช้าหงษ์ส่งพระเปนเจ้า รุ่งขึ้น เชิญเครื่องบูชาพวก
ข้าวตอก กล้วย ส้ม เข้าไปถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการยกอุลุบ สวดถวายพระมหากษัตริย์ เป็นเสร็จการพระราชพิธี
ในรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีตรียัมพวายให้พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยตั้งเครื่องบูชา ข้าวตอก กล้วย ส้ม เช่นตั้งหน้าเทวรูปในเทวสถาน และให้ราชบัณฑิตสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ และยกอุลุบถวายเช่นในเทวสถาน แต่เปลี่ยนคำเป็นการถวายบูชาพระพุทธเจ้า
กล้วย ส้ม เช่นตั้งหน้าเทวรูปในเทวสถาน และให้ราชบัณฑิตสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ และยกอุลุบถวายเช่นในเทวสถาน แต่เปลี่ยนคำเป็น
การถวายบูชาพระพุทธเจ้า
 
แต่เดิมนั้นพระราชพิธีตรียัมปวายจะจัดในเดือนอ้าย(ธันวาคม) ครั้นล่วงเข้าสู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์จึงได้เปลี่ยนมาจัดในเดือนยี่ (มกราคม) พิธีนี้ถือเป็นพิธีขึ้นปีใหม่ของพราหมณ์
พิธีโล้ชิงช้ามีที่มาจากคัมภีร์เฉลิมไตรภพกล่าวไว้ว่าพระอุมาเทวีทรงมีความปริวิตกว่าโลกจะถึงกาลวิบัติ พระนางจึงทรงพนันกับพระอิศวร โดยให้พญานาคขึงตนระหว่างต้นพุทราที่แม่น้ำ แล้วให้พญานาคแกว่งไกวตัวโดยพระอิศวรทรงยืนขาเดียวในลักษณะไขว่ห้าง เมื่อพญานาคไกวตัว เท้าพระอิศวรไม่ตกลงแสดงว่าโลกที่ทรงสร้างนั้นมั่นคงแข็งแรง พระอิศวรจึงทรงชนะพนัน ดังนั้นพิธีโล้ชิงช้าจึงเปรียบเสาชิงช้าเป็น'ต้นพุทรา' ช่วงระหว่างเสาคือ'แม่น้ำ' นาลีวันผู้โล้ชิงช้าคือ'พญานาค' โดยมีพระยายืนชิงช้านั่งไขว่ห้างอยู่บนไม้เบญจมาศ
พิธีนี้ถือเป็นพิธีขึ้นปีใหม่ของพราหมณ์
 
พิธีโล้ชิงช้ามีที่มาจากคัมภีร์เฉลิมไตรภพกล่าวไว้ว่าพระอุมาเทวีทรงมีความปริวิตกว่าโลกจะถึงกาลวิบัติ พระนางจึงทรงพนันกับพระอิศวร
อีกตำนานหนึ่งเชื่อว่า พระพรหมเมื่อสร้างโลกแล้ว ได้เชิญให้พระอิศวรทดสอบความแข็งแรงของโลก พระอิศวรจึงใช้วิธีการเช่นเดียวกันกับข้างต้น ในการทดสอบ คตินี้สอนเรื่องการไม่ประมาท
โดยให้พญานาคขึงตนระหว่างต้นพุทราที่แม่น้ำ แล้วให้พญานาคแกว่งไกวตัวโดยพระอิศวรทรงยืนขาเดียวในลักษณะไขว่ห้าง เมื่อพญานาค
ไกวตัว เท้าพระอิศวรไม่ตกลงแสดงว่าโลกที่ทรงสร้างนั้นมั่นคงแข็งแรง พระอิศวรจึงทรงชนะพนัน ดังนั้นพิธีโล้ชิงช้าจึงเปรียบเสาชิงช้าเป็น
'ต้นพุทรา' ช่วงระหว่างเสาคือ'แม่น้ำ' นาลีวันผู้โล้ชิงช้าคือ'พญานาค' โดยมีพระยายืนชิงช้านั่งไขว่ห้างอยู่บนไม้เบญจมาศ
 
อีกตำนานหนึ่งเชื่อว่า พระพรหมเมื่อสร้างโลกแล้ว ได้เชิญให้พระอิศวรทดสอบความแข็งแรงของโลก พระอิศวรจึงใช้วิธีการเช่นเดียวกันกับข้างต้น ในการทดสอบ คตินี้สอนเรื่องการไม่ประมาทเดียว
พิธีโล้ชิงช้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีได้ยกเลิกไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 ปัจจุบันการประกอบพระราชพิธีนี้จะกระทำเป็นการภายในเทวสถานเท่านั้น
กันกับข้างต้น ในการทดสอบ คตินี้สอนเรื่องการไม่ประมาท
 
พิธีโล้ชิงช้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีได้ยกเลิกไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 ปัจจุบันการประกอบพระราชพิธีนี้จะกระทำเป็นการภายในเทวสถานเท่านั้น
พระราชพิธีนี้จะกระทำภายในเทวสถานเท่านั้น
 
== อ้างอิง ==