ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนเฟื่องนคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ถนนเฟื่องนคร''' ({{lang-roman|Thanon Fueang Nakhon}}) เป็นถนนใน[[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] เริ่มต้นจาก[[ถนนบำรุงเมือง]] ([[สี่กั๊กเสาชิงช้า]]) ในท้องที่แขวงวัดราชบพิธ ไปทางทิศใต้ ข้าม[[คลองหลอดวัดราชบพิธ]] เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ จนถึง[[ถนนเจริญกรุง]] ([[สี่กั๊กพระยาศรี]]) รวมระยะทางประมาณ 0.5 กิโลเมตร
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:ถนนเฟื่องนคร2.jpg|thumb|240px|ถนนเฟื่องนคร]]
 
ถนนเฟื่องนครเป็นถนนที่สร้างในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และเป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างตามแบบตะวันตก โดยเริ่มตั้งแต่กำแพงเมืองด้านใต้ คือใต้[[ปากคลองตลาด]] ผ่านบ้านหม้อ บ้านญวนตัดกับถนนเจริญกรุงเป็นสี่แพร่งหรือสี่กั๊กพระยาศรี และตัดกับถนนบำรุงเมืองเป็นสี่แพร่งหรือสี่กั๊กเสาชิงช้า ผ่าน[[วัดมหรรณพาราม]] โรงเลี้ยงวัวหลวง หรือบ้านท้าวประดู่ในเรื่องวรรณกรรมระเด่นลันได ปัจจุบันเรียกว่า [[สี่แยกคอกวัว]] สวนหลวง ไปจนถึงกำแพงเมืองด้านเหนือที่ข้างวัดบวรนิเวศ โดยเริ่มทำพร้อมถนนบำรุงเมืองใน [[พ.ศ. 2406]] และสร้างเสร็จใน [[พ.ศ. 2407]] จากนั้นได้พระราชทานนามว่า "ถนนเฟื่องนคร" ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง อันสอดคล้องกับชื่อถนนเจริญกรุง และถนนบำรุงเมือง
'''ถนนเฟื่องนคร''' ({{lang-roman|Thanon Fueang Nakhon}}) เป็นถนนใน[[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] เริ่มต้นจาก[[ถนนบำรุงเมือง]] ([[สี่กั๊กเสาชิงช้า]]) ในท้องที่แขวงวัดราชบพิธ ไปทางทิศใต้ ข้าม[[คลองหลอดวัดราชบพิธ]] เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ จนถึง[[ถนนเจริญกรุง]] ([[สี่กั๊กพระยาศรี]])
 
{{ต้องการ==อ้างอิง}}==
ถนนเฟื่องนครเป็นถนนที่สร้างในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และเป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างตามแบบตะวันตก โดยเริ่มตั้งแต่กำแพงเมืองด้านใต้ คือใต้[[ปากคลองตลาด]] ผ่านบ้านหม้อ บ้านญวนตัดกับถนนเจริญกรุงเป็นสี่แพร่งหรือสี่กั๊กพระยาศรี และตัดกับถนนบำรุงเมืองเป็นสี่แพร่งหรือสี่กั๊กเสาชิงช้า ผ่าน[[วัดมหรรณพาราม]] โรงเลี้ยงวัวหลวง บ้านท้าวประดู่ในเรื่องระเด่นลันได ปัจจุบันเรียกว่า [[สี่แยกคอกวัว]] สวนหลวง ไปจนถึงกำแพงเมืองด้านเหนือที่ข้างวัดบวรนิเวศ โดยเริ่มทำพร้อมถนนบำรุงเมืองใน [[พ.ศ. 2406]] และสร้างเสร็จใน [[พ.ศ. 2407]] จากนั้นได้พระราชทานนามว่า "ถนนเฟื่องนคร" ซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง
*{{cite web|work=[[ทีเอ็นเอ็น24]]|date=2015-07-19|title=เรื่องนี้มีอยู่ว่า : “เจริญกรุง” “บำรุงเมือง” “เฟื่องนคร”|url=https://www.youtube.com/watch?v=0tmoAzPi_ek}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
บรรทัด 17:
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่ 4]]
{{สร้างปี|2407}}
{{โครงคมนาคม}}