ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แยกท่าพระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ทางแยก
| name_th = ท่าพระ
เส้น 14 ⟶ 13:
| n_next = [[แยกพาณิชยการธนบุรี]]
| s_next = [[ตลาดพลู]]
| e_next = [[แยกบางยี่เรือ|บางยี่เรือ]]
| e_next = [[วงเวียนใหญ่]]
| w_next = [[แยกบางแค|บางแค]]
}}
 
'''แยกท่าพระ''' ({{lang-en|Tha Phra Intersection}}) เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่าง[[ถนนเพชรเกษม]], [[ถนนรัชดาภิเษก]]และ[[ถนนจรัญสนิทวงศ์]] ในพื้นที่แขวงวัดท่าพระ [[เขตบางกอกใหญ่]] [[กรุงเทพมหานคร]] นับเป็นสี่แยกที่มีความสำคัญต่อการจราจรในพื้นที่[[ฝั่งธนบุรี]] ถือเป็นจุดเริ่มต้นของถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนรัชดาภิเษก ช่วงรัชดา-ท่าพระ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพฯ อีกทั้งยังเป็นทางแยกแรกของถนนเพชรเกษมจากจุดเริ่มต้นบริเวณสะพานนวเนาวจำเนียรซึ่งทอดยาวลงสู่[[ภาคใต้]]ของไทย นับเป็นบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นมากอีกแห่งหนึ่งในพื้นที่ฝั่งธนบุรีรองจาก[[วงเวียนใหญ่]] แม้ในปัจจุบันจะมีการตัดถนนในพื้นที่ข้างเคียงอีกหลายสาย เช่น[[ถนนราชพฤกษ์]] ซึ่งสามารถแบ่งเบาปริมาณการจราจรจากย่านวงเวียนใหญ่เข้าสู่แยกท่าพระได้ในระดับหนึ่ง
 
แยกท่าพระเดิมมีสภาพเป็นเพียงสามแยก ต่อมาทางด้านทิศใต้ได้มีการตัดถนนรัชดาภิเษกช่วงรัชดา-ท่าพระ จึงเปลี่ยนมาเป็นสี่แยก กระทั่งปี [[พ.ศ. 2534]] มีการเปิดใช้สะพานลอยข้ามแยกตามแนวถนนเพชรเกษม ทำพิธีเปิดโดย พล.ต.[[จำลอง ศรีเมือง]] [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในขณะนั้น และในปี [[พ.ศ. 2544]] มีการเปิดใช้อุโมงค์ลอดทางแยกตามแนวถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนรัชดาภิเษก นับเป็นอุโมงค์ลอดทางแยกแห่งแรก ๆ ของกรุงเทพมหานคร
 
ในปี [[พ.ศ. 2553]] ได้มีการปิดซ่อมสะพานข้ามแยกระหว่างวันที่ [[23 เมษายน ]]ถึงวันที่[[ 7 กันยายน ]] ซึ่งจากเดิมเปิดวันที่ [[21 กรกฎาคม ]] เนื่องจากสะพานตรงกลางแอ่นตัวในฝั่งขาออกและมาเปิดวันที่ [[12 สิงหาคม]] แต่ไม่เสร็จและมาเปิดวันที่ [[23 สิงหาคม ]] และไม่เสร็จอีกจึงมาเปิดวันที่ 7 กันยายน นับเป็นสะพานข้ามแยกที่ 9 ที่ทาง[[กรุงเทพมหานคร (องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ปิดซ่อมและเปิดใช้ <ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9530000053989|title=กทม.ซ่อมแยกท่าพระ 90 วัน แนะปชช.เลี่ยงเส้นทางถึงปลายก.ค.|date=2010-04-20|accessdate=2018-02-27|work=ผู้จัดการออนไลน์}}</ref> <ref>{{cite web|url=https://www.home.co.th/hometips/detail/56413-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0|title=เลื่อนเปิดสะพานข้ามแยกท่าพระ|work=โฮมดอตซีโอดอตทีเอช}}</ref>
 
== โครงการในอนาคต ==
* '''โครงการส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน]]''': ช่วงหัวลำโพง-ท่าพระ-บางแค และช่วงบางซื่อ-ท่าพระ ทั้งสองเส้นทางมีจุดบรรจบที่สี่แยกท่าพระ โดยมี[[สถานีท่าพระ]] เป็นสถานีร่วมบริเวณกลางสี่แยก ยกระดับทอดตัวไปทั้ง 4 ด้าน ทั้งแนวถนนจรัญสนิทวงศ์-รัชดาภิเษก, แนวถนนเพชรเกษมมุ่งหน้าบางแค และแนวเส้นทางใหม่ของรถไฟฟ้าจาก[[สถานีบางกอกใหญ่]]ที่ยกระดับเข้าสู่ทางแยกที่หัวมุมระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์และเพชรเกษม<ref>{{cite web|title=รถไฟฟ้าสีนํ้าเงิน หัวลำโพง-ท่าพระ เชื่อมวงแหวนรอบในกทม.-ปริมณฑลโซนใต้ที่บางแค|url=http://www.thansettakij.com/content/90114|date=2016-08-30|accessdate=2018-02-27|work=ฐานเศรษฐกิจ}}</ref>
 
==อ้างอิง==
== ดูเพิ่ม ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
* [[ถนนเพชรเกษม]]
* [[ถนนจรัญสนิทวงศ์]]
* [[ถนนรัชดาภิเษก]]
* [[รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน]]
* [[สถานีท่าพระ]]
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|13.729244|100.473365}}
เส้น 39 ⟶ 34:
[[หมวดหมู่:สี่แยก|ท]]
[[หมวดหมู่:เขตบางกอกใหญ่]]
{{โครงคมนาคม}}