ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลามีดโกน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
I dunno i don't know you ver i don't know you way and sleeping
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
U501Flash (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 22:
มีความยาวโดยเฉลี่ย 10 [[เซนติเมตร]] และสามารถโตเต็มที่ได้ 15 เซนติเมตร<ref name="Eyewitness" /> พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแถบ[[อินโด-แปซิฟิก]] โดยอาศัยอยู่กับ[[ปะการัง]], [[กัลปังหา]] และหนามของ[[เม่นทะเล]] เพื่อหลบหลีกจากศัตรูผู้ล่า เนื่องจากไม่มีอาวุธอะไรที่จะป้องกันตัวได้ มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง จะเอาหัวทิ่มลงพื้นเสมอ และตั้งฉากกับพื้นทะเล แม้แต่จะ[[ว่ายน้ำ]]ไปไหนมาไหนก็จะไปด้วยลักษณะเช่นนี้เสมอ ใน[[น่านน้ำไทย]]จัดเป็นปลาที่พบได้บ่อยในบางพื้นที่<ref>หน้า 110, ''คู่มือปลาทะเล'' โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] (ตุลาคม, 2551) ISBN 978-974-484-261-9</ref>
 
กิน[[แพลงก์ตอน]]สัตว์เป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]] และเป็น[[ปลาสวยงาม]]<ref name="Eyewitness"> "Eyewitness handbooks Aquarium Fish: The visual guide to more than 500 marine and freshwater fish varieties" By Dick Mills. Page 283</ref> กิน[[แพลงก์ตอน]]สัตว์เป็นอาหาร นิยมเลี้ยงกันใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]] และเป็น[[ปลาสวยงาม]] ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว โดย[[กรมประมง]] ของประเทศไทย โดยเพาะขยายพันธุ์ในบ่อ ด้วยการให้กิน[[แพลงก์ตอนสัตว์]], [[เคย]] และ[[Copepod|โคพีพอด]] หลังจากฟักแล้ว ลูกปลาจะเริ่มเห็นตัวเมื่ออายุได้ 12-15 วัน จากนั้นจะย้ายลูกปลาไปไว้ในบ่ออนุบาลต่อไป และเปลี่ยนมาให้ลูกปลากิน[[อาร์ทีเมีย]] เมื่อปลามีความยาวได้ราว 2 [[นิ้ว (หน่วยความยาวระบบอังกฤษ)|นิ้ว]] ก็จะกินเคยได้เหมือนปลาวัยโต<ref>''สารคดีเกษตร ช่วงเพื่อนเกษตร'', "ข่าวเช้า 7 สี". [[ช่อง 7]]: [[วันพุธ|พุธ]]ที่ [[19 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2555|2555]]</ref> แต่ลูกปลาที่ยังเล็กอยู่ คืออายุไม่เกิน 15 วัน จะมีการว่ายน้ำเหมือนกับปลาส่วนใหญ่ทั่วไป จนกระทั่งมีรูปร่างเหมือนปลามีดโกน จึงจะอยู่ในลักษณะหัวทิ่ม และเข้ามารวมฝูงกัน<ref name="หน้า"/>
 
นอกจากนี้แล้ว ปลามีดโกนยังเป็น[[ซากดึกดำบรรพ์ที่มีชีวิต]]อีกชนิดหนึ่ง เพราะแทบจะไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างเลยมานานกว่า 60 ล้านปีแล้ว ตั้งแต่ยุคต้น[[Miocence|ไมโอซีน]] เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับ[[ฟอสซิล]]บรรพบุรุษของปลาชนิดนี้ที่ขุดพบที่[[เทือกเขาแอลป์]]ทางตอนเหนือของ[[อิตาลี]]<ref name="หน้า">หน้า 137-144, ''ครั้งแรกของเมืองไทย เพาะพันธุ์ใบมีดโกน'', คอลัมน์ Blue Planet โดย นันทวัฒน์ โชติสุวรรณ. นิตยสาร Aquarium Biz ฉบับที่ 32 ปีที่ 3: กุมภาพันธ์ 2013</ref>