ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฬิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มคำแปลภาษาอังกฤษ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Wall_clock.jpg|thumb|200px|right|นาฬิกาติดผนัง]]
 
'''นาฬิกา''' ({{lang-en|clockClock}}) เป็นเครื่องมือสำหรับใช้บอก[[เวลา]] โดยมากจะมีรอบเวลา 12 [[ชั่วโมง]] หรือ 24 ชั่วโมง สำหรับนาฬิกาทั่วไป มีเครื่องหมายบอกชั่วโมง [[นาที]] หรือ[[วินาที]] เครื่องมือสำหรับจับเวลาระยะสั้นๆ เรียกว่านาฬิกาจับเวลา เดิมนั้นเป็นอุปกรณ์เชิงกล มี[[ลาน (กลไก)|ลาน]]หมุนขับเคลื่อนกำลัง และมีเฟืองเป็นตัวทดความเร็วให้ได้รอบที่ต้องการ และใช้เข็มบอกเวลา โดยใช้หน้าปัดเขียนตัวเลขระบุเวลาเอาไว้ ลักษณนามของนาฬิกา เรียกว่า “เรือน” แต่ก็มีนาฬิกาแบบอื่นๆ ซึ่งใช้บอกอีก เช่น นาฬิกาทราย ใช้จับเวลา, นาฬิกากะลา เป็นกะลาเจาะรูใช้จับเวลา โดยการลอยในน้ำ จนกว่าจะจมก็ถือว่าหมดเวลา, นาฬิกาแดด เป็นการตั้งเครื่องมือเพื่อให้สังเกตการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ โดยดูจากเงาของเครื่องมือ บางครั้งเราก็มีการบอกเวลาโดยใช้เครื่องมืออื่น ซึ่งไม่ได้เรียกว่าเป็น นาฬิกา เช่น การตีกลองบอกเวลาเพล ของพระสงฆ์, การตีฆ้องบอกเวลาของแขกยาม หรือการยิงปืนบอกเวลา เป็นต้น
 
== ประวัติ ==
นาฬิกา เป็นหนึ่งในสิ่งประดิษฐ์ที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ สร้างขึ้นมาเพื่อต้องการเครื่องมือบอกเวลาที่ละเอียดกว่าหน่วยธรรมชาติ เช่น เช้า กลางวัน เย็น ข้างขึ้น ข้างแรม ซึ่งก็ได้มีการสร้างอุปกรณ์และพัฒนาเรื่อยมาจนกลายเป็นนาฬิกาที่ใช้กันทุกวันนี้
 
[[เฮโรโดตัส]] [[นักประวัติศาสตร์]]ชาว[[กรีกโบราณ]] ได้บันทึกไว้ว่าเมื่อ 3,500 ปีก่อน มนุษย์รู้จักใช้เครื่องมือบอกเวลาเป็นครั้งแรก โดยการใช้นาฬิกาแดด
 
ในประเทศไทย นาฬิกาที่เก่าแก่ที่สุด เกิดขึ้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้ากรมอุทกศาสตร์คนแรก[[พระนิเทศชลที]] (กัปตันลอฟตัส) จัดทำนาฬิกาแดดประดิษฐานขึ้นที่หน้าอุโบสถ[[วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร]] [[อำเภอบางปะอิน]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] และยังคงใช้งานได้จนถึงปัจจุบัน
 
=== นาฬิกาแดด ===
[[นาฬิกาแดด]]จะวัดเวลาโดยการดูจากเงาที่เกิดขึ้นจากดวงอาทิตย์ ใช้กันอย่างแพร่หลายในยุคโบราณ ถือเป็นนาฬิกาอย่างแรกของมนุษย์
 
=== นาฬิกาดิจิตอล ===
เส้น 38 ⟶ 42:
* Yoder, Joella Gerstmeyer. ''Unrolling Time: Christiaan Huygens and the Mathematization of Nature''. New York: Cambridge University Press (1988).
* Zea, Philip, & Robert Cheney. ''Clock Making in New England – 1725-1825''. Old Sturbridge Village (1992).
*ซูม. ''ตำนานนาฬิกาไทยแลนด์จากมิโด้ถึง "ริชาร์ด มิลด์"'' หน้า 5. ไทยรัฐปีที่ 69 ฉบับที่ 21926 (วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ปีระกา)
{{จบอ้างอิง}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นาฬิกา"