ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
<!-- Mechanisms -->
ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ ได้แก่ [[อาเจียน]] [[Hypernatremia|โซเดียมในเลือดสูง]] หรือ[[Hyperkalemia|โปแตสเซียมในเลือดสูง]] หากผู้ป่วยกินสารละลายแล้วอาเจียนแนะนำให้พักก่อน 10 นาที แล้วค่อยๆ กินใหม่<ref name=WHO2008/> สูตรของสารละลายที่แนะนำจะประกอบด้วย [[โซเดียมคลอไรด์]] [[Sodium citrate|โซเดียมซิเตรต]] [[โปแตสเซียมคลอไรด์]] และ[[กลูโคส]]<ref name=WHO2008/> หากไม่มีอาจใช้[[ซูโครส]]แทนกลูโคส และใช้[[โซเดียมไบคาร์บอเนต]]แทนโซเดียมซิเตรตได้<ref name=WHO2008/> กลูโคสจะช่วยให้เซลล์ในลำไส้ดูดซึมน้ำและโซเดียมได้ดีขึ้น<ref name=Bi2014/> นอกจากสูตรนี้แล้วยังมีสูตรดัดแปลงอื่นๆ เช่นสูตรที่สามารถทำได้เองที่บ้าน<ref name=Bi2014>{{cite journal|last1=Binder|first1=HJ|last2=Brown|first2=I|last3=Ramakrishna|first3=BS|last4=Young|first4=GP|title=Oral rehydration therapy in the second decade of the twenty-first century.|journal=Current gastroenterology reports|date=March 2014|volume=16|issue=3|pages=376|pmid=24562469|doi=10.1007/s11894-014-0376-2|pmc=3950600}}</ref><ref name=Mun2010/> อย่างไรก็ตามสูตรที่ทำได้เองเหล่านี้ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยที่ยืนยันผลการรักษา<ref name=Mun2010>{{cite journal|last1=Munos|first1=MK|last2=Walker|first2=CL|last3=Black|first3=RE|title=The effect of oral rehydration solution and recommended home fluids on diarrhoea mortality.|journal=International Journal of Epidemiology|date=April 2010|volume=39 Suppl 1|pages=i75-87|pmid=20348131|doi=10.1093/ije/dyq025|pmc=2845864}}</ref>
 
<!-- History and culture -->
การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปากเช่นนี้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อช่วงปี 1940s และเริ่มเป็นที่แพร่หลายเมื่อช่วงปี 1970s<ref>{{cite book|last1=Selendy|first1=Janine M. H.|title=Water and Sanitation Related Diseases and the Environment: Challenges, Interventions and Preventive Measures|date=2011|publisher=John Wiley & Sons|isbn=9781118148600|page=60|url=https://books.google.com/books?id=nZlS4ZfUOZUC&pg=PA60|language=en|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170918185409/https://books.google.com/books?id=nZlS4ZfUOZUC&pg=PA60|archivedate=18 September 2017|df=}}</ref> สูตรยาของสารน้ำนี้ได้รับการบรรจุไว้ในรายการยามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก ซึ่งเป็นกลุ่มของยาที่ปลอดภัยและได้ผลดีและมีความจำเป็นต่อ[[ระบบบริการสุขภาพ]]<ref name=WHO19th>{{cite web|title=WHO Model List of Essential Medicines (19th List)|url=http://www.who.int/medicines/publications/essentialmedicines/EML_2015_FINAL_amended_NOV2015.pdf?ua=1|work=World Health Organization|accessdate=8 December 2016|date=April 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161213052708/http://www.who.int/medicines/publications/essentialmedicines/EML_2015_FINAL_amended_NOV2015.pdf?ua=1|archivedate=13 December 2016|df=}}</ref> ราคาขายส่งของผงละลายน้ำเกลือแร่ที่ขายอยู่ใน[[กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว]]อยู่ที่ประมาณซองละ 0.03-0.20 ดอลลาร์สหรัฐ<ref name=ERC2014>{{cite web|title=Oral Rehydration Salts|url=http://mshpriceguide.org/en/single-drug-information/?DMFId=572&searchYear=2014|website=International Drug Price Indicator Guide|accessdate=8 December 2016}}</ref> ในปี ค.ศ. 2015 มีการใช้การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปากกับผู้ป่วยเด็กที่มีอาการท้องร่วงอยู่ที่ 41% ทั่วโลก<ref name=UN2016/> การใช้การรักษาด้วยวิธีนี้มีส่วนสำคัญในการลด[[Child mortality|อัตราการเสียชีวิตของเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี]]<ref name=UN2016>{{cite book|title=The State of the World's Children 2016 A fair chance for every child|date=June 2016|publisher=UNICEF|isbn=978-92-806-4838-6|pages=117, 129|url=https://www.unicef.org/publications/files/UNICEF_SOWC_2016.pdf|accessdate=14 January 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160920001238/http://www.unicef.org/publications/files/UNICEF_SOWC_2016.pdf|archivedate=20 September 2016|df=}}</ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}