ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวารหนัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
Pilarbini ย้ายหน้า ทวารหนัก ไปยัง ทวารหนักของมนุษย์: Human Anus แทนที่ทวารหนักที่อาจหมายถึงของสัตว...
 
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่ ทวารหนัก
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Infobox anatomy
#เปลี่ยนทาง [[ทวารหนักของมนุษย์]]
| Name = ทวารหนัก
| Latin = Anus
| GraySubject = 249
| GrayPage = 1184
| Image = Protovsdeuterostomes.svg
| Caption = การพัฒนาของทวารหนักในโพรโตสโตม (protostome) และดิวเทอโรสโตม (deuterostome)
| Width =
| Image2 =
| Caption2 =
| ImageMap =
| MapCaption =
| Precursor = Proctodeum
| System = Alimentary, sometimes reproductive
| Artery = Inferior rectal artery
| Vein = Inferior rectal vein
| Nerve = Inferior rectal nerves
| Lymph = Superficial inguinal lymph nodes
| MeshName =
| MeshNumber =
| Code =
| Dorlands =
| DorlandsID =
}}
 
'''ทวารหนัก''' ({{lang-en|anus}}) มาจากคำภาษาลาติน ''[[wikt:en:anus#Latin|anus]]'' แปลว่า "วงแหวน" หรือ "วงกลม" เป็นรูเปิดตรงส่วนปลายของทางเดินอาหารของสัตว์ตรงข้ามกับปาก มีหน้าที่ในการควบคุมการปล่อยอุจจาระ, ของกึ่งแข็งที่ไม่เป็นที่ต้องการในระบบย่อยอาหาร ซึ่งขึ้นอยู่กับสัตว์แต่ละชนิด อาจรวมถึง สิ่งที่สัตว์ชนิดนั้นไม่สามารถย่อยได้ เช่น [[กระดูก]],<ref name="ChinEtal1998KingSizeCoprolite">{{cite journal
|date=1998-06-18
|title=A king-sized theropod coprolite
|journal=Nature
|volume=393
|pages=680
|author=Chin, K.
|author2=Erickson, G.M.
|url=http://www.nature.com/nature/journal/v393/n6686/abs/393680a0.html
|doi=10.1038/31461
|issue=6686|display-authors=etal}} Summary at {{cite journal
|author=Monastersky, R.
|title=Getting the scoop from the poop of ''T. rex''
|journal=Science News
|volume=153
|issue=25
|date=1998-06-20
|pages=391
|url=http://www.sciencenews.org/pages/sn_arc98/6_20_98/fob2.htm
|doi=10.2307/4010364
|publisher=Society for Science &#38
|jstor=4010364
}}</ref> ส่วนที่เหลือของอาหารหลังสารอาหารถูกนำออกไปหมดแล้ว ตัวอย่างเช่น [[เซลลูโลส]]หรือ[[ลิกนิน]] (lignin), สิ่งที่อาจเป็นพิษหากคงอยู่ในทางเดินอาหาร และจุลินทรีย์ในลําไส้ (gut bacteria) ที่ตายแล้วหรือเกินจำเป็นรวมถึง[[สิ่งมีชีวิตร่วมอาศัย]] (endosymbiont) อื่น ๆ
 
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน และนก ใช้ช่องเปิดช่องเดียวกันเรียกว่าทวารรวม (cloaca) สำหรับขับถ่ายของเสียทั้งของเหลวและของแข็ง, สำหรับรวมเพศ และสำหรับวางไข่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้นย่อย[[โมโนทรีม]]มีทวารรวมเช่นกัน คาดว่าเป็นลักษณะที่สืบทอดจากสัตว์มีถุงน้ำคร่ำยุคแรกสุดผ่านสัตว์เลื้อยคลานกลุ่มเทอแรพซิด (therapsid) [[อันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง|สัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง]]มีช่องเปิดเดียวสำหรับขับของเหลวและของแข็ง และเพศเมียมีช่องคลอดแยกสำหรับการสืบพันธุ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่ม placentalia เพศหญิงมีช่องเปิดแยกสำหรับ[[การถ่ายอุจจาระ|ถ่ายอุจจาระ]] ขับ[[ปัสสาวะ]] และสืบพันธุ์ ส่วนเพศผู้มีช่องเปิดสำหรับอุจจาระและอีกช่องสำหรับทั้งปัสสาวะและสืบพันธุ์ แม้ช่องทางที่ไหลไปยังช่องเปิดนั้นแทบจะแยกกันอย่างสิ้นเชิง
 
การพัฒนาของทวารหนักเป็นขั้นตอนสำคัญในวิวัฒนาการของสัตว์หลายเซลล์
 
==See also==
* [[ช่องทวารหนัก]] (anal canal)
* [[ภาวะรูทวารหนักไม่มีช่องเปิด]] (Imperforate anus) [[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]
 
==อ้างอิง==
{{reflist}}
 
== External links ==
* {{commons category-inline|Anus}}
 
{{Authority control}}
 
[[Category:Digestive system]]
[[Category:Anus| ]]