ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศแอฟริกาใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 150:
ประเทศแอฟริกาใต้มีภาษาราชการ 11 ภาษา ได้แก่ [[ภาษาแอฟริคานส์]], [[ภาษาอังกฤษ]], [[ภาษาซูลู]], [[ภาษาโชซา]], [[ภาษาสวาตี]], [[ภาษาเอ็นเดเบลี]], [[ภาษาซูทูใต้]], [[ภาษาซูทูเหนือ]], [[ภาษาซองกา]], [[ภาษาสวันนา]] และ[[ภาษาเวนดา]] ชาวแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สามารถใช้ภาษาแอฟริคานส์และภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
 
=== กีฬา ===
== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|แอฟริกาใต้ในกีฬาเครือจักรภพ|แอฟริกาใต้ในโอลิมปิก|แอฟริกาใต้ในพาราลิมปิก}}
 
==== ฟุตบอล ====
{{บทความหลัก|สมาคมฟุตบอลแอฟริกาใต้|ฟุตบอลทีมชาติแอฟริกาใต้|ฟุตซอลทีมชาติแอฟริกาใต้}}
ฟุตบอลทีมชาติแอฟริกาใต้ (อังกฤษ: South Africa national football team) หรือ บาฟานา บาฟานา (Bafana Bafana มีความหมายว่าเด็กชาย) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศแอฟริกาใต้ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแอฟริกาใต้ (SAFA) ทีมกลับมาเล่นระดับโลกในปี 1992 หลังจากหลายปีที่ถูกฟีฟ่าแบนจาก[[นโยบายการแบ่งแยกสีผิว]] และในปี 2010 แอฟริกาใต้เป็นประเทศแรกของทวีปแอฟริกาที่เป็นเจ้าภาพ [[ฟุตบอลโลก 2010]] เดือนมิถุนายน ซิฟิเว่ ชาบาลาล่ายังเป็นคนแรกที่ทำประตูให้กับทีมชาติแอฟริกาใต้ในการแข่งขันฟุตบอลโลก ทีมชาติแอฟริกาใต้ประสบความสำเร็จในการเป็นผู้ชนะการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ ในปี 1996 ที่ประเทศตนเองเป็นเจ้าภาพ
 
==== รักบี้ ====
{{บทความหลัก|สมาคมรักบี้แอฟริกาใต้|รักบี้ทีมชาติแอฟริกาใต้}}
กีฬารักบี้เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมในแอฟริกาใต้อย่างมากพอๆกับฟุตบอล ทีมชาติแอฟริกาใต้เป็นทีมรักบี้ที่เก่งระดับโลกและมีผู้เล่นมากฝีมือมากมาย เช่น [[Percy Montgomery]] นักรักบี้ทีมชาติแอฟริกาใต้ที่เกิดใน[[ประเทศนามิเบีย]]
 
=== มวยสากล ===
{{บทความหลัก|มวยสากลในแอฟริกาใต้}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== วัฒนธรรม ==
 
=== เครื่องดนตรีพื้นเมือง ===