ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกนประสาทนำออก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกิอังกฤษ + บทความเก่า
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 12:
-->
'''แกนประสาท''' หรือ '''แอกซอน''' หรือ '''ใยประสาท'''<ref name=RoyalDict>{{Citation | title = axon | quote = (แพทยศาสตร์) แกนประสาท, แกนประสาทนำออก (วิทยาศาสตร์) ใยประสาทนำออก | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}</ref>
({{lang-en |axon}} มาจาก[[ภาษากรีก]]คำว่า ἄξων คือ ''áxōn'' แปลว่า แกน) เป็นเส้นใยเรียวยาวที่ยื่นออกจาก[[เซลล์ประสาท]]หรือนิวรอน ที่และปกติจะส่ง[[กระแสประสาท]]หรือคำสั่งออกจากตัวเซลล์เพื่อสื่อสารกับเซลล์อื่น ๆ<ref>{{cite web | title = พจนานุกรมคำศัพท์ (หมวด A) | url = http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_a.htm | accessdate = 2012-12-23 | quote = แอกซอน : ใยประสาทชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่นำกระแสประสาทหรือคำสั่งออกจากตัวเซลล์ประสาท }}</ref>
แอกซอนเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''ใยประสาท''' (nerve fiber)
หน้าที่ของมันก็เพื่อส่งข้อมูลไปยังนิวรอน [[กล้ามเนื้อ]] และต่อมต่าง ๆ
ใน[[เซลล์ประสาทรับความรู้สึก]]บางอย่างที่เรียกว่าซึ่งมีรูปร่างเป็น pseudounipolar neuron (เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม) เช่นที่รับความรู้สึก[[ตัวรับแรงกล|สัมผัส]]และ[[ตัวรับอุณหภูมิ|อุณหภูมิ]] กระแสประสาทจะวิ่งไปตามแอกซอนจากส่วนปลายเข้าไปยังตัวเซลล์ แล้วก็จะวิ่งออกจากตัวเซลล์ไปยัง[[ไขสันหลัง]]ตามสาขาอีกสาขาของแอกซอนเดียวกัน
ความผิดปกติของแอกซอนอาจเป็นเหตุให้เกิดความผิดปกติทางประสาทซึ่งมีผลต่อทั้งเซลล์ประสาทใน[[ระบบประสาทนอกส่วนกลาง|ส่วนนอก]]และ[[ระบบประสาทส่วนกลาง|ส่วนกลาง]]
ใยประสาทสามารถจัดเป็นสามหมวดคือ ใยประสาทกลุ่มเอเด็ลตา (A delta) ใยประสาทกลุ่มบี (B) และใยประสาทกลุ่มซี (C)
โดยกลุ่มเอและบีจะมี[[ปลอกไมอีลิน]]ในขณะที่กลุ่มซีจะไร้ปลอก
 
แอกซอนเป็นส่วนยื่นที่ประกอบด้วย[[โพรโทพลาสซึม]]อย่างหนึ่งในสองอย่างที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ประสาท
ส่วนยื่นอีกอย่างเรียกว่า [[ใยประสาทนำเข้า]]/เดนไดรต์ (dendrite)
แอกซอนจะต่างจากเดนไดรต์หลายอย่าง รวมทั้งรูปร่าง (เดนไดรต์มักจะเรียวลงเทียบกับแอกซอนที่จะคงขนาด) ความยาว (เดนไดรต์มักจะจำกัดอยู่ใน[[ปริภูมิ]]เล็ก ๆ รอบ ๆ ตัวเซลล์ ในขณะที่แอกซอนอาจยาวกว่ามาก) และหน้าที่ (เดนไดรต์เป็นส่วนรับสัญญาณในขณะที่แอกซอนจะเป็นส่วนส่งสัญญาณ)
แต่ลักษณะที่ว่านี้ทั้งหมดล้วนแต่มีข้อยกเว้น
เส้น 28 ⟶ 27:
[[ไซโทพลาซึม]]ของแอกซอนมีชื่อโดยเฉพาะว่าแอกโซพลาซึม (axoplasm) ส่วนสุดของแอกซอนที่แตกเป็นสาขา ๆ เรียกว่า telodendron/telodendria
ส่วนสุดของ telodendron ซึ่งป่องเรียกว่าปลายแอกซอน (axon terminal)
ซึ่งเชื่อมกับ dendron หรือตัวเซลล์ของนิวรอนอีกตัวหนึ่งโดยเป็น จุดเชื่อที่ว่านี้เรียกว่า[[จุดประสานประสาท]]/ไซแนปส์
 
นิวรอนบางอย่างไม่มีแอกซอนและจะส่งสัญญาณผ่านเดนไดรต์
ไม่มีนิวรอนใด ๆ ที่มีแอกซอนมากกว่าหนึ่งอัน
แต่ใน[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]]เช่น[[แมลง]]และ[[ปลิง]] แอกซอนบางครั้งจะมีส่วนต่าง ๆ ที่ทำงานแทบเป็นอิสระต่อกันและกัน<ref>{{cite journal | last = Yau | first = KW | year = 1976 | title = Receptive fields, geometry and conduction block of sensory neurons in the CNS of the leech | journal = J. Physiol. | location = Lond | volume = 263 | issue = 3 | pages = 513-538 | doi = 10.1113/jphysiol.1976.sp011643 | pmid = 1018277 | pmc = 1307715}}</ref>
แอกซอนโดยมากจะแตกสาขา และในบางกรณีอย่างจะมีสาขาจำนวนมหาศาล
 
แอกซอนจะเชื่อมกับเซลล์อื่น ๆ โดยปกติกับนิวรอนอื่น ๆ แต่บางครั้งก็เชื่อมกับ[[กล้ามเนื้อ]]หรือเซลล์ต่อม ผ่านจุดต่อที่เรียกว่า [[จุดประสานประสาท]]/ไซแนปส์
ที่ไซแนปส์ [[เยื่อหุ้มเซลล์]]ของแอกซอนจะเข้าไปเกือบชิดกับเยื่อหุ้มของเซลล์เป้าหมาย และโครงสร้างพิเศษระดับโมเลกุลจะเป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าหรือเคมี-ไฟฟ้าข้ามช่อง
ยังมีจุดประสาทไซแนปส์ในระหว่างอื่น ๆ ของแอกซอนซึ่งไม่ใช่ส่วนปลาย ไซแนปส์เหล่านี้โดยเรียกว่า en passant synapse หรือ in passing synapse
ไซแนปส์อื่น ๆ จะอยู่ที่ปลายสาขาต่าง ๆ ของแอกซอน
แอกซอนหนึ่งใยพร้อมกับสาขาทั้งหมดรวม ๆ กัน อาจเชื่อมกับส่วนต่าง ๆ ในสมองและมีจุดเชื่อมคือไซแนปส์เป็นพัน ๆ
เส้น 43 ⟶ 42:
== กายวิภาค ==
[[ไฟล์:Myelin sheath (1).svg|thumb|upright|right|
ผัง[[แผนภาพ]]ตัดขวางของแอกซอน<br />
1. แอกซอน<br />
2. [[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]]ของ[[เซลล์ชวานน์]]<br />
เส้น 102 ⟶ 101:
{{Synapse map}}
{{ข้อมูลเพิ่มเติม |ศักยะงาน}}
แอกซอนโดยมากจะส่งกระแสประสาทในรูปแบบของ[[ศักยะงาน]] (action potential) ซึ่งเป็นอิมพัลส์ไฟฟ้าเคมีแบบมีค่าไม่ต่อเนื่อง (วิยุต) ซึ่งวิ่งไปอย่างรวดเร็วตามแอกซอน
เริ่มจากตัวเซลล์และไปสุดที่ปลายแอกซอนโดยเป็น[[ไซแนปส์]]เที่ชื่อมที่เชื่อมกับเซลล์เป้าหมาย
 
ลักษณะโดยเฉพาะของศักยะงานก็คือ เป็นแบบมีหรือว่าไม่มี (all-or-nothing) เพราะศักยะงานทุก ๆ พัลส์ที่สร้างโดยแอกซอน จะมีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน
เส้น 155 ⟶ 154:
 
แอกซอนที่กำลังเจริญเติบโตจะงอกไปยังจุดเป้าหมายโดยใช้โครงสร้างที่เรียกว่า growth cone ซึ่งอยู่ที่ส่วนปลายของแอกซอน ถ้า[[อุปมา]]ด้วยมือ มัดใย F-actin คือ Filopodia จะเป็นเหมือนกับนิ้วมือ เครือข่าย F-actin ที่ดูเป็นแผ่นคือ Lamellipodium จะเป็นหนังระหว่างนิ้วมือ และโครงสร้างที่ทำจากไมโครทิวบูลจะเป็นฝ่ามือ
การงอกของแอกซอนจะอาศัยการทำงานของตัวรับ (receptor) ที่ผิวเซลล์ ซึ่งตอบสนองต่อ[[สารเคมี]]ต่าง ๆ ในสมองส่วนที่แอกซอนจะงอกไปถึง เช่น [[เอ็นแคม]] [[ลามินิน]] [[ไฟโบรเน็คติน]] [[ทีแนสซิน]] เป็นต้น และ[[โปรตีน]]สำคัญที่ช่วยให้แอกซอนสามารถเคลื่อนที่และรักษารูปร่างไว้ได้ ก็คือ [[แอกติน]] (actin) ซึ่งกระบวนการงอก/เดินทางของแอกซอนเช่นนี้อาจเรียกได้ว่า axon guidance
{{clear}}
== ประวัติ ==
นัก[[กายวิภาคศาสตร์]]ชาวเยอรมัน Otto Friedrich Karl Deiters ปกติจะได้เครดิตว่า เป็นผู้ค้นพบแอกซอนโดยแยกมันจากเดนไดรต์<ref name="pmid21527732" />
ส่วนนักกายวิภาคศาสตร์[[ชาวสวิส]] Albert von Kölliker และ[[ชาวเยอรมัน]] Robert Remak เป็นบุคคลแรกที่ระบุและให้รายละเอียดเกี่ยวกับส่วนแรก (initial segment) ของแอกซอน
โดย ศ. Kölliker เป็นผู้ตั้งชื่อแอกซอนในปี พ.ศ. 2439<ref>{{Cite book | url = https://www.worldcat.org/oclc/27151391 | title = Origins of neuroscience : a history of explorations into brain function | last = Finger | first = Stanley | publisher = Oxford University Press | year = 1994 | isbn = 9780195146943 | pages = 47 | oclc = 27151391 | quote = Kölliker would give the "axon" its name in 1896. }}</ref>
 
นักกายวิภาคศาสตร์ชาวอังกฤษ Alan Hodgkin และ Andrew Huxley ได้เริ่มใช้แอกซอนยักษ์ของ[[หมึก (สัตว์)|หมึก]]เพื่องานวิจัยในปี 2482 และโดยปี 2495 ก็ได้รายละเอียดกับการทำงานอาศัยสร้าง[[ไอออนศักยะงาน]]ของโดยอาศัย[[ศักยะงานไอออน]] แล้วตั้ง[[แบบจำลองทางคณิตศาสตร์]]ของศักยะงานคือ Hodgkin-Huxley model
ต่อมาทั้งสองจึงได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์|รางวัลโนเบล]]ร่วมกันในปี 2506
หลังจากนั้น แบบจำลองนี้จึงได้ขยายใช้ใน[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ทั้งหมดโดยเรียกว่า สมการ Frankenhaeuser-Huxley
เส้น 169 ⟶ 168:
ส่วน นัก[[ประสาทวิทยาศาสตร์]]ชาวสเปน[[ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล]] ได้เสนอว่า แอกซอนเป็นสายส่งสัญญาณของนิวรอน แล้วระบุการทำงานของพวกมัน<ref name="pmid21527732" />
 
นักกายวิภาคชาวอเมริกัน Herbert Spencer Gasser (2431-2506) และ Joseph Erlanger (2417-2508) เป็นผู้พัฒนาระบบการจัดหมวดหมู่ของใยประสาทส่วนปลาย ตามความเร็วการนำกระแสประสาทในแอกซอน การหุ้มปลอก และขนาด เป็นต้น<ref>{{cite webต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | authorsdate = Sansom, B | title = Reflex Isolation | url = http://www.sansomnia.com 2018-01}}</ref>
แม้ความเข้าใจเกี่ยวกับมูลฐานทางเคมีชีวภาพของศักยภาพศักยะงานปัจจุบันก็ยังก้าวหน้าอยู่ และบัดนี้รวมรายละเอียดเกี่ยวกับ[[ช่องไอออน]]ประเภทต่าง ๆ
 
หมึก ''Doryteuthis pealeii'' ได้ใช้เป็น[[สิ่งมีชีวิตต้นแบบ]] เพราะเป็นสัตว์ที่มีแอกซอนยาวสุดตามที่รู้จัก
เส้น 177 ⟶ 176:
<!--เผื่ออนาคต {{บทความหลัก |Nerve injury}} -->
ความบาดเจ็บต่อเส้นประสาทสามารถจัดตามระดับความรุนแรงเป็น [[neurapraxia]], [[axonotmesis]], หรือ [[neurotmesis]]
การกระแทกระเทือนศีรษะกระเทือนศีรษะ (Concussion) จะจัดว่าเป็นรูปแบบอ่อน ๆ ของ diffuse axonal injury ที่แบบเต็มรูปแบบจะมี[[รอยโรค]]เกิดอย่างกว้างขวางใน[[เนื้อขาว]]<ref>{{cite web | authors = Dawodu, Segun T (MD) | title = Traumatic Brain Injury: Definition, Epidemiology, Pathophysiology | url = https://emedicine.medscape.com/article/326510-overview | publisher = eMedicine | date = 2017-08-16 | deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20171007170417/http://emedicine.medscape.com/article/326510-overview | archivedate = 2017-10-07 }}</ref>
การทำงานผิดปกติของแอกซอนในระบบประสาท เป็นเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของโรคทางประสาท (neurological disorder) ที่มีผลต่อ[[เซลล์ประสาท]]ทั้งในส่วนกลางและนอกส่วนกลาง<ref name="pmid21527732" />
 
เส้น 203 ⟶ 202:
 
=== เส้นประสาทรับความรู้สึก (sensory) ===
มีใยประสาทเพื่อรับความรู้สึกได้จัดเป็นประเภทต่าง ๆ
[[ตัวรับรู้อากัปกิริยา]] (proprioceptor) มีใยประสาทรับความรู้สึกแบบ Ia, Ib และ II
ส่วน[[ตัวรับแรงกล]]มีแบบ II และ III
เส้น 231 ⟶ 230:
[[ระบบประสาทอิสระ]]มีใยประสาทนอกส่วนกลางสองแบบ คือ
{| class="wikitable"
|+ประเภทใยประสาทนอกส่วนกลางของระบบประสาทอิสระ
|-
! ประเภท !! การจัดหมวดหมู่ <br>Erlanger-Gasser || [[เส้นผ่านศูนย์กลาง]] ([[µm]]) || [[ปลอกไมอีลิน|ปลอก]]<ref>{{cite book | last = Pocock | first = Gillian | title = Human Physiology | location = New York | publisher = Oxford University Press | edition = Second | year = 2004 | pages = 187-189 | isbn = 0-19-858527-6 | display-authors = etal}}</ref> || ความเร็ว<br/>[[เมตรต่อวินาที|m/s]]