ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Infobox medical condition (new)
{{กล่องข้อมูล โรค
| Namename = หัด<br /> ( = Measles)
| ICD10image = {{ICD10|B|05||b|00}}RougeoleDP.-jpg
| ICD9caption = {{ICD9|055}}A child showing a four-day measles rash
| field = [[Infectious disease (medical specialty)|Infectious disease]]
| Image = Morbillivirus measles infection.jpg
| synonyms = Morbilli, rubeola, red measles, English measles<ref name=Mil2015>{{cite book|last1=Milner|first1=Danny A.|title=Diagnostic Pathology: Infectious Diseases E-Book|date=2015|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=9780323400374|page=24|url=https://books.google.com/books?id=YJ_uCQAAQBAJ&pg=PA24|language=en|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=YJ_uCQAAQBAJ&pg=PA24|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref><ref name=Stan2002>{{cite book|last1=Stanley|first1=Jacqueline|title=Essentials of Immunology & Serology|date=2002|publisher=Cengage Learning|isbn=076681064X|page=323|url=https://books.google.com/books?id=nuCT5RVToN4C&pg=PA323|language=en|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=nuCT5RVToN4C&pg=PA323|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>
| Caption = ภาพผิวหนังของผู้ที่ป่วยเป็นโรคหัด
| symptoms = Fever, cough, runny nose, inflamed eyes, rash<ref name=MM2014/><ref name=CDC2014SS/>
| DiseasesDB = 7890
| complications = [[Pneumonia]], [[seizures]], [[encephalitis]], [[subacute sclerosing panencephalitis]]<ref>{{cite web|title=Pinkbook Measles|url=https://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/meas.html|website=www.cdc.gov|accessdate=25 November 2017|language=en-us|date=24 July 2015}}</ref>
| MedlinePlus = 001569
| onset = 10–12 days post exposure<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014/>
| eMedicineSubj = derm
| duration = 7–10 days<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014/>
| eMedicineTopic = 259
| causes = [[Measles virus]]<ref name=MM2014/>
| eMedicine_mult = {{eMedicine2|emerg|389}}
| risks =
| eMedicine_mult = {{eMedicine2|ped|1388}} |
| diagnosis =
| differential =
| prevention = [[Measles vaccine]]<ref name=WHO2014/>
| treatment = [[supportive treatment|Supportive care]]<ref name=WHO2014/>
| medication =
| frequency = 20 million per year<ref name=MM2014/>
| deaths = 73,400 (2015)<ref name=GBD2015De>{{cite journal|last1=GBD 2015 Mortality and Causes of Death|first1=Collaborators.|title=Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015.|journal=Lancet|date=8 October 2016|volume=388|issue=10053|pages=1459–1544|pmid=27733281|doi=10.1016/S0140-6736(16)31012-1}}</ref>
}}
'''โรคหัด''' ({{lang-en|measles}}) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อ[[Measles virus|ไวรัสหัด]]<ref name=MM2014>{{cite web|title=Measles|work=Merck Manual Professional|publisher=Merck Sharp & Dohme Corp.|date=September 2013|accessdate=23 March 2014|url=http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|editor=Caserta, MT|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140323104756/http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|archivedate=23 March 2014|df=}}</ref><ref>{{cite web|title=Measles (Red Measles, Rubeola)|url=http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|website=Dept of Health, Saskatchewan|accessdate=10 February 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150210111358/http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|archivedate=10 February 2015|df=}}</ref> ในระยะแรกผู้ป่วยจะมี[[ไข้]] ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) [[ไอ]] [[น้ำมูกไหล]]จาก[[เยื่อจมูกอักเสบ]] และ[[ตาแดง]]จาก[[เยื่อตาอักเสบ]]<ref name=MM2014/><ref name=CDC2014SS/> ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่า[[Koplik's spots|จุดของคอปลิก]]<ref name=CDC2014SS/> จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว<ref name=CDC2014SS>{{cite web|title=Measles (Rubeola) Signs and Symptoms|url=https://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|website=cdc.gov|accessdate=5 February 2015|date=November 3, 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150202192809/http://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|archivedate=2 February 2015|df=}}</ref> อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วัน<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014>{{cite book|title=Conn's Current Therapy 2015: Expert Consult – Online|date=2014|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=9780323319560|page=153|url=https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>สามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ [[ท้องร่วง]] [[ตาบอด]] [[สมองอักเสบ]] [[ปอดอักเสบ]] และอื่นๆ<ref name=WHO2014/><ref name=CDC2012Pink/> โรคนี้เป็นคนละโรคกับ[[โรคหัดเยอรมัน]]และ[[Roseola|หัดกุหลาบ]]<ref>{{cite book|last1=Marx|first1=John A.|title=Rosen's emergency medicine : concepts and clinical practice|date=2010|publisher=Mosby/Elsevier|location=Philadelphia|isbn=9780323054720|pages=1541|edition=7th|url=https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>
 
โรคหัด[[Airborne disease|ติดต่อทางอากาศ]] เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและ[[การจาม]]ของผู้ป่วย นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น ส่วนใหญ่เมื่อเป็นแล้วจะไม่เป็นอีก การตรวจหาเชื้อไวรัสในผู้ป่วยรายที่สงสัย จะมีประโยชน์ในการควบคุมโรค
 
[[วัคซีนโรคหัด]]สามารถป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี ผลการจาก[[Vaccination|การใช้วัคซีน]]นี้ทำให้จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหัดลดลงถึง 75% ในช่วง ค.ศ. 2000-2013 ซึ่งเด็กทั่วโลกถึง 85% ได้รับวัคซีนนี้ ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาแบบจำเพาะ เป็นแต่เพียงการใช้การรักษาบรรเทาอาการเท่านั้น เช่น [[Oral rehydration therapy|การให้สารน้ำชดเชยทางปาก]] กินอาหารที่มีประโยชน์ และใช้[[ยาลดไข้]] อาจต้องใช้[[ยาปฏิชีวนะ]]ก็ต่อเมื่อมี[[การติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อน]]แทรกซ้อน เช่น เป็น[[ปอดอักเสบซ้ำซ้อน]] ใน[[กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา]]ที่ผู้ป่วยอาจ[[ขาดสารอาหาร]] การให้[[วิตามินเอ]]ก็เป็นที่แนะนำ
 
ในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณ 20 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่กำลังพัฒนาของทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย โรคนี้เป็น[[โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน]]ที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตจำนวนมากที่สุดในโลก เมื่อ ค.ศ. 1980 มีคนเสียชีวิตจากโรคหัดถึง 2.6 ล้านคน และลดเหลือ 545,000 คนใน ค.ศ. 1990 และ 73,000 ใน ค.ศ. 2014 ผู้ป่วยที่เสียชีวิตส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 5 ปี อัตราการเสียชีวิตโดยรวมอยู่ที่ 0.2% แต่อาจสูงได้ถึง 10% ในผู้ที่ขาดสารอาหาร ปัจจุบันยังเชื่อว่าโรคนี้ไม่ติดไปยังสัตว์อื่น ในประเทศสหรัฐอเมริกาก่อนมีการใช้วัคซีนจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณปีละ 3-4 ล้านคน ซึ่งหลังจากมีการใช้วัคซีนอย่างกว้างขวาง โรคหัดก็ถูกกำจัดหมดไปจากอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 2016
 
== สาเหตุ ==
เส้น 47 ⟶ 54:
== อ้างอิง ==
ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป : นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานุภาพ
==แหล่งข้อมูลอื่น==
 
{{Medical condition classification and resources
| ICD10 = {{ICD10|B|05||b|00}}
| ICD9 = {{ICD9|055}}
| DiseasesDB = 7890
| MedlinePlus = 001569
| eMedicineSubj = derm
| eMedicineTopic = 259
| eMedicine_mult = {{eMedicine2|emerg|389}} {{eMedicine2|ped|1388}}
| MeshID = D008457
}}
[[หมวดหมู่:โรค|หัด]]
[[หมวดหมู่:โรคติดเชื้อไวรัส|หัด]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โรคหัด"