ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์หยวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 91:
'''ราชวงศ์หยวน''' ({{Zh-all|c=元朝|p=Yuáncháo}}; ''หยวนเฉา'') (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งใน[[ราชวงศ์]]ของ[[จักรวรรดิจีน]] ก่อตั้งขึ้นเมื่อ[[กุบไลข่าน]]ผู้นำเผ่า[[ชาวมองโกล]] ได้โค่นอำนาจ[[ราชวงศ์ซ่ง]]ลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครอง[[ประเทศจีน]]
 
ชาวมองโกลได้เข้ายึดครอง[[ภาคเหนือของจีน]]เป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายาม'''เปลี่ยนเป็นจีน''' ตั้งแต่สมัย [[มองเกอ ข่าน]] พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของ[[กุบไลข่าน]] ในปี ค.ศ. 1271 เมื่อมองโกลโค่นราชวงศ์ซ่งลงได้สำเร็จและยึดครองดินแดนจีนได้ทั้งหมด กุบไลข่านได้ประกาศตั้งราชวงศ์แบบจีนขึ้นอย่างเป็นทางการ{{sfn|Mote|1994|p=624}} มีการตั้งกรุง[[ปักกิ่ง]]เป็นเมืองหลวง (สมัยนั้นชื่อว่า เมืองต้าตู) ทรงตั้งความหวังจะเป็นกษัตริย์ที่ดี จึงปกครองอย่างสุขุมรอบคอบ เอาใจใส่ประชาชน จึงสามารถชนะใจชาวจีนได้ และเป็นจักรพรรดิมองโกลพระองค์เดียว ที่ชาวจีนยอมรับ (เดิมทีนั้น พวกมองโกลขึ้นชื่อลือชามากในเรื่องความโหด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากวิถีชีวิตเดิม ที่อยู่ในทุ่งหญ้า [[ทะเลทราย]] เร่ร่อนไปเรื่อย ๆ) นอกจากนี้ กุบไลข่านยังพยายามใช้นโยบายขยายดินแดนครอบครองโลกและพาชาวจีนบุกยึดครองดินแดนต่างๆไปกว้างไกลมาก ถึงกับยกทัพเรือจะไปตี[[ญี่ปุ่น]] แต่เรือถูกมรสุมจึงไม่สำเร็จ
 
กุบไลข่านสนใจทาง[[อักษรศาสตร์]]และ[[วรรณกรรม]]มาก จึงส่งเสริมบทประพันธ์ต่างๆ ปรากฏว่า บท[[งิ้ว]]ในสมัยกุบไลข่านดีมาก จนไม่มีบทงิ้วสมัยใดเทียบได้ การติดต่อกับต่างประเทศ ก็เป็นไปด้วยดี ไม่ว่าจะเป็น[[มาร์โคโปโล]]และ[[เอกอัครสมณทูต]]จาก[[สันตะสำนัก]]ก็ได้มาเยือนแดนจีนในยุคของกุบไลข่านนี่เอง
บรรทัด 105:
ในปี ค.ศ. 1271 (พ.ศ. 1814) [[กุบไลข่าน]]ได้ประกาศตั้งชื่อจักรวรรดิใหม่ว่า '''ต้าหยวน''' ({{zh |c = 大元 |p = Dà Yuán |w = Ta-Yüan}}) หรือ '''ราชวงศ์หยวน'''<ref name="CivilSociety">"Civil Society in China: The Legal Framework from Ancient Times to the 'New Reform Era'", p39, note 69.</ref> "ต้าหยวน" (大元) มาจากประโยคหนึ่งของจีนที่ว่า "{{lang|zh|大哉乾元}}" (ดา ไจ๋ เคี้ยงหยวน / "เคี้ยงนั้นยิ่งใหญ่, เป็นปฐม") ใน ซึ่งคำว่า "[[เคี้ยง (แฉก)|เคี้ยง]]" ({{linktext|乾}}) เป็นแฉกแรกของศาสตร์[[อี้จิง]]<ref>{{cite book |title = [[Ten Wings|Commentaries]] on the [[I Ching|Classic of Changes]] (《易傳》) |chapter = 《易·乾·彖傳》 |quote = 《彖》曰:大哉乾元,萬物資始,乃統天。}}</ref><ref name="Proclamation">{{citation |author = [[Kublai Khan]] |date = December 18, 1271 |title = 《[[s:zh:建國號詔|建國號詔]]》}} (collected in the ''Statutes of the Yuan'' (《元典章》))</ref> ตรงกับ[[ภาษามองโกล]]ที่ว่า ''ได ออน อูลุส'' (''Dai Ön Ulus'') นอกจากนี้คำว่า ''อิค หยวน อูลุส'' (''Ikh Yuan Üls'') หรือ ''เยเคอ หยวน อูลุส'' (''Yekhe Yuan Ulus'') ในภาษามองโกลคำว่า ''ไดออน'' (''Dai Ön'') เป็นคำทับศัพท์[[ภาษาจีน]]คำว่า ต้าหยวน มักจะใช้ร่วมกับคำว่า "เยเคอ มองกูล อูลุส" ("Yeke Mongghul Ulus") (ที่แปลว่า "รัฐมองโกลอันยิ่งใหญ่") บางครั้งมีการประสมเป็นคำว่า ''ได ออน เยเคอ มองกูล อุลุส'' (''Dai Ön Yeke Mongghul Ulus'')<ref name="mname">"The Early Mongols: Language, Culture and History" by Volker Rybatzki & Igor de Rachewiltz, p116</ref> ([[อักษรมองโกล]]: [[ไฟล์:Dai Ön Yeke Mongghul Ulus.PNG|80px]]), แปลว่า "รัฐหยวนมองโกลอันยิ่งใหญ่"<ref>{{cite web |url = http://www.thefamouspeople.com/profiles/kublai-khan-4344.php |title = Kublai Khan Biography - Childhood, Life Achievements & Timeline |website = Thefamouspeople.com |date = |accessdate = 2016-05-27}}</ref>
 
ราชวงศ์หยวนเป็นที่รู้จักของชาวตะวันตกในฐานะ "ราชวงศ์มองโกล"<ref>Asian Nationalism, by Michael Leifer, Professor of International Relations Michael Leifer, p23</ref> หรือ "ราชวงศ์มองโกลแห่งประเทศจีน",<ref>A Military History of Japan: From the Age of the Samurai to the 21st Century: From the Age of the Samurai to the 21st Century, John T. Kuehn Ph.D., p61</ref> ราชวงศ์หยวนมองโกลมักถูกมองว่าเป็นชนเผ่าคนเถื่อนที่เข้าปกครองประเทศจีน เหมือน'''ราชวงศ์แมนจู''' ของ[[ชาวแมนจู]]<ref>Voyages in World History, by Valerie Hansen, Ken Curtis, p53</ref> หรือ "ราชวงศ์แมนจูแห่งประเทศจีน"<ref>The Military Engineer, Volume 40, p580</ref> ในเวลาต่อมาที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ [[ราชวงศ์ชิง]]
== ประวัติ ==
=== ภูมิหลัง ===