ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรับรู้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนทางไปที่ ประชาน
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Multistability.svg|thumb| [[ลูกบาศก์เนกเกอร์]]และ[[แจกันรูบิน]]สามารถรับรู้ได้มากกว่า 1 แบบ ]]
#redirect [[ประชาน]]
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
การรับรู้, สัญชาน, การกำหนดรู้, รับรู้
Perception
-->
'''การรับรู้''' หรือ '''สัญชาน'''<ref name=RoyalDict>{{Citation |title = psychopathology |quote=(ปรัชญา, แพทยศาสตร์, ภาษาศาสตร์) สัญชาน, ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ |work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}</ref>
({{lang-en|Perception}} จากคำ[[ภาษาละติน]]ว่า ''perceptio'')
เป็นการจัดระเบียบ ระบุ และแปลผลข้อมูลจาก[[ประสาทสัมผัส]]เพื่อใช้เป็นแบบจำลองและเข้าใจข้อมูลหรือโลกรอบ ๆ ตัว<ref>{{cite book | last = Schacter | first = Daniel | title = Psychology | year = 2011 | publisher = Worth Publishers}}</ref>
 
การรับรู้ทุกอย่างจะต้องเกี่ยวกับ[[สัญญาณประสาท]]ที่ส่งไปยัง[[ระบบประสาท]] โดยสัญญาณก็จะเป็นผลของการเร้า[[ระบบรับความรู้สึก]]ทางกายภาพหรือทางเคมี<ref name="Goldstein5">{{harvnb | Goldstein |2009 | pp = 5-7 }}</ref>
ยกตัวอย่างเช่น การเห็นจะเกี่ยวกับ[[แสง]]ที่มากระทบ[[จอตา]] การได้กลิ่นจะอำนวยโดย[[โมเลกุล]]ที่มีกลิ่น และ[[การได้ยิน]]จะเกี่ยวกับ[[คลื่นเสียง]]
การรับรู้ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การรับสัญญาณทางประสาทสัมผัสเฉย ๆ แต่จะได้รับอิทธิพลจาก[[การเรียนรู้]] [[ความทรงจำ]] ความคาดหวัง และ[[การใส่ใจ]]ของบุคคลนั้น ๆ<ref name="mind_perception"/><ref name="Bernstein2010"/>
การรับรู้สามารถแบ่งเป็นสองส่วน คือ<ref name="Bernstein2010">{{cite book | last = Bernstein | first = Douglas A. | title = Essentials of Psychology | url = https://books.google.com/books?id=rd77N0KsLVkC&pg=PA123 | accessdate = 2011-03-25 | date = 2010-03-05 | publisher = Cengage Learning | isbn = 978-0-495-90693-3 | pages = 123-124}}</ref>
# การแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส ซึ่งแปลข้อมูลดิบเป็นข้อมูลระดับสูงขึ้น (เช่น การดึงรูปร่างจากสิ่งที่เห็นเพื่อรู้จำวัตถุ)
# การแปลผลที่เชื่อมกับทัศนคติ ความคาดหวัง และความรู้ของบุคคล โดยได้อิทธิพลจากกลไกการเลือกเฟ้น (คือ[[การใส่ใจ]]) สิ่งที่รับรู้
 
การรับรู้จะอาศัยการทำงานที่ซับซ้อนในระบบประสาท แต่โดย[[อัตวิสัย]]จะรู้สึกว่าไม่ได้ทำอะไร เพราะการแปลผลเช่นนี้เกิดขึ้นใต้จิตสำนึก<ref name="Goldstein5"/>
ตั้งแต่การเริ่มสาขาจิตวิทยาเชิงทดลองในคริสต์ทศวรรษที่ 19 ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับรู้ได้ก้าวหน้าโดยใช้วิธีการศึกษารวมกันหลายอย่าง<ref name="mind_perception">{{harvnb | Gregory |1987 | at = Perception, pp. 598-601 }}</ref>
Psychophysics ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติทางกายภาพของข้อมูลประสาทสัมผัสต่าง ๆ กับการรับรู้ในเชิงปริมาณ<ref>{{cite book | authors = Fechner, Gustav Theodor | year = 1860 | title = Elemente der Psychophysik | location = Leipzig }}</ref>
ประสาทวิทยาศาสตร์เชิงรับความรู้สึก (Sensory neuroscience) ได้ศึกษากลไกทางสมองที่เป็นมูลฐานของการรับรู้
ระบบการรับรู้ยังสามารถศึกษาในเชิงคอมพิวเตอร์ คือโดยอาศัยข้อมูลที่ระบบแปลผล
ส่วนปรัชญาในเรื่องการรับรู้ จะศึกษาขอบเขตที่ลักษณะทางประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น เสียง กลิ่น และสี มีจริง ๆ โดย[[ปรวิสัย]] ไม่ใช่มีแค่ในใจคือเป็น[[อัตวิสัย]]ของคนที่รับรู้<ref name="mind_perception"/>
 
แม้นักวิชาการจะได้มองประสาทสัมผัสว่าเป็นระบบรับข้อมูลเฉย ๆ
แต่งานศึกษาเกี่ยวกับ[[การแปลสิ่งเร้าผิด]]และภาพที่มองเห็นได้หลายแบบ ได้แสดงว่า ระบบการรับรู้ของสมองทำการอย่างแอคทีฟและภายใต้จิตสำนึกเพื่อเข้าใจสิ่งที่รับรู้<ref name="mind_perception"/>
ยังเป็นเรื่องไม่ยุติว่า การรับรู้เป็นกระบวนการตรวจสอบ[[สมมติฐาน]]แบบต่าง ๆ มากแค่ไหน หรือว่าข้อมูลทางประสาทสัมผัสตามธรรมชาติสมบูรณ์พอที่จะไม่ต้องใช้กระบวนการนี้ในการรับรู้<ref name="mind_perception"/>
 
ระบบการรับรู้ในสมองทำให้บุคคลสามารถเห็นโลกรอบ ๆ ตัวว่าเสถียร แม้ข้อมูลความรู้สึกปกติจะไม่สมบูรณ์และจะเปลี่ยนไปอยู่ตลอด
สมองมนุษย์และสัตว์มีโครงสร้างโดยเฉพาะ ๆ และแต่ละส่วนจะประมวลข้อมูลความรู้สึกที่ต่างกัน
โครงสร้างบางอย่างจัดเหมือนกับแผนที่รับความรู้สึก คือมีการใช้ผิวสมองเป็นผังแสดงลักษณะบางอย่างของโลก (เช่นใน [[Somatotopy]])
โครงสร้างโดยเฉพาะต่าง ๆ เหล่านี้จะเชื่อมต่อกันและมีอิทธิพลต่อกันและกัน
ยกตัวอย่างเช่น [[กลิ่น]]จะมีอิทธิพลอย่างสูงต่อ[[รสชาติ]]<ref name="DeVereCalvert2010_33">{{cite book | last1 = DeVere | first1 = Ronald | last2 = Calvert | first2 = Marjorie | title = Navigating Smell and Taste Disorders | url = https://books.google.com/books?id=m6WOtX2QAtwC&pg=PA39 | accessdate = 2011-03-26 | date = 2010-08-31 | publisher = Demos Medical Publishing | isbn = 978-1-932603-96-5 | pages = 33-37}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ประสาทสัมพันธ์แห่งการรับรู้อารมณ์]]
* [[แพริโดเลีย]]
* [[ควอเลีย]]
* [[การจำลอง]]
* [[Transsaccadic memory]]
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง |30em}}
 
== แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ ==
{{Refbegin |30em}}
*{{cite book | last = Goldstein | first = E. Bruce | title = Sensation and Perception | url = https://books.google.com/books?id=2tW91BWeNq4C | date = 2009 | publisher = Cengage Learning | isbn = 978-0-495-60149-4 | ref = harv}}
*{{cite book | last1 = Gregory | first1 = Richard L. | last2 = Zangwill | first2 = O. L. | title = The Oxford Companion to the Mind | url = https://books.google.com/books?id=HRYoSwAACAAJ | accessdate = 2011-03-24 | year = 1987 | publisher = Oxford University Press | ref = harv}}
{{Refend}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Sister project links |Perception}}
* Arnheim, R. (1969). ''Visual Thinking''. Berkeley: University of California Press.
* Flanagan, J. R., & Lederman, S. J. (2001). "'Neurobiology: Feeling bumps and holes. News and Views", ''Nature'', 412(6845) :389-91. ([http://brain.phgy.queensu.ca/flanagan/papers/FlaLed_NAT_01.pdf PDF])
* Gibson, J. J. (1966). ''The Senses Considered as Perceptual Systems'', Houghton Mifflin.
* Gibson, J. J. (1987). ''The Ecological Approach to Visual Perception''. Lawrence Erlbaum Associates.
* Robles-De-La-Torre, G. (2006). "The Importance of the Sense of Touch in Virtual and Real Environments". IEEE Multimedia,13(3), Special issue on Haptic User Interfaces for Multimedia Systems, pp.&nbsp;24-30. ([http://www.roblesdelatorre.com/gabriel/GR-IEEE-MM-2006.pdf PDF])
* [http://www.simplypsychology.pwp.blueyonder.co.uk/perception-theories.html Theories of Perception] Several different aspects on perception
* [http://www.richardgregory.org/ Richard L Gregory] Theories of Richard. L. Gregory.
*[http://www.michaelbach.de/ot/ Comprehensive set of optical illusions, presented by Michael Bach].
* [http://www.optillusions.com/ Optical Illusions] Examples of well-known optical illusions.
 
{{โครง}}
[[หมวดหมู่:จิตวิทยาเชิงการทดลอง]]
[[หมวดหมู่:ระบบรับความรู้สึก]]
[[หมวดหมู่:ประสบการณ์อัตวิสัย]]
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางญาณวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ประชานศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:กระบวนการทางจิต]]
[[หมวดหมู่:การประเมินทางประสาทจิตวิทยา]]
[[หมวดหมู่:การรับรู้| ]]
[[หมวดหมู่:แหล่งความรู้]]
[[หมวดหมู่:ปัญหาทางประสาทวิทยาศาสตร์ที่ยังแก้ไม่ได้]]
[[หมวดหมู่:ปัญหาทางชีววิทยาที่ยังแก้ไม่ได้]]
[[หมวดหมู่:ประสาทวิทยาศาสตร์]]
[[en:Perception]]