ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอาจารย์ดี ฉนฺโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ประวัติ
ประวัติ
บรรทัด 8:
|วันตาย = [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2502]]
|วันบวช = [[พ.ศ. 2457]]
|พรรษา = {{อายุ|2457|0501|0301|2502|05|8}}
|อายุ = {{อายุ|2435|07|26|2502|05|8}} ปี
|วัด = [[วัดภูเขาแก้ว]], [[วัดป่าสุนทราราม]]
บรรทัด 44:
ปี [[พ.ศ. 2471]] เมื่อได้ฝึกอบรมจิตภาวนาและข้อวัตรปฏิบัติกับ[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] แล้ว [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] จึงธุดงค์กลับไปปักกลดที่ ''ดอนคอกวัว'' เพื่อโปรดชาว ''บ้านกุดแห่'' ซึ่งเป็นบ้านของท่าน พ่อเฒ่าฝ่ายหน้า บุรารัตน์ เจ้าของที่ดินแปลงนี้ได้ถวายที่ดินเพื่อให้สร้างวัด [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] จึงสั่งให้ญาติโยมรื้อศาลากุฏิจากวัดศรีบุญเรืองท่าแขกทั้งหมดเอาไปปลูกสร้างวัดใหม่ที่บริเวณดอนคอกวัว และในปีนี้ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] เห็นว่า ''พระอาจารย์อินทร์ สุนฺทโร (วงศ์เสนา)'' ซึ่งเป็นบิดาของท่านได้อุปสมบทมานานแล้ว จึงนำเรื่องเสนอพระเถระแต่งตั้ง [[พระอธิการอินทร์ สุนฺทโร]] เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และตั้งชื่อวัดให้คล้ายฉายาของเจ้าอาวาสรูปแรก รูปปฐมฤกษ์ว่า [[วัดป่าสุนทราราม]] ในปัจจุบันพื้นที่วัดศรีบุญเรืองท่าแขกเดิมได้กลายเป็นธรณีสงฆ์ของวันป่าสุนทราราม
 
ในระหว่างพรรษานี้ [[พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม]] ศิษย์อาวุโสของ[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] ซึ่งอยู่จำพรรษาที่บ้านหนองขอน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับจดหมายนิมนต์จาก ''พระครูพิศาลอรัญเขต'' เจ้าอาวาสวัดศรีจันทร์และเจ้าคณะธรรมยุตจังหวัดขอนแก่นในขณะ ต่อมาก็คือ [[พระเทพสิทธาจารย์ (จันทร์ เขมิโย)]] ให้ไปช่วยเผยแผ่ธรรมปฎิบัติให้กับประชาชนชาว[[จังหวัดขอนแก่น]] หลังจากออกพรรษา [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] จึงได้เดินทางไปบ้านน่าหัวงัวเพื่อนมัสการ[[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] และร่วมประชุมปรึกษาหารือในกิจนิมนต์ดังกล่าว ในการนี้มีพระภิกษุสามเณรลูกศิษย์ของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] และ [[หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต]] จากเมืองอุบลฯ เมืองสกลฯ เมืองนครพนม เมืองยโสธร เมืองหนองคาย และเมืองเลย ต่างก็เดินทางมาประชุมพร้อมกันในช่วง[[วันมาฆบูชา]] วันเพ็ญเดือน 3 ณ ''บ้านนาหัวงัว'' [[อำเภอกุดชุม]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]ในขณะนั้น หรือในปัจจุบันคือ[[ยโสธร]] เมื่อที่ประชุมคณะสงฆ์ตกลงเห็นพ้องต้องกันแล้ว จึงได้แยกย้ายกันเดินทางมุ่งสู่[[จังหวัดขอนแก่น]] คณะสงฆ์กองทัพธรรมนำโดย [[พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม]] [[พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล]] [[พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] [[พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ]] [[พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺตโก]] [[พระอาจารย์สีลา อิสฺสโร]] เป็นต้น เมื่อไปถึงแล้วได้พำนักที่ ''ป่าช้าโคกเหล่างา'' ด้านทิศตะวันออกของเมืองขอนแก่น คณะสงฆ์จึงได้ร่วมกันสร้าง ''สำนักสงฆ์ป่าช้าโคกเหล่างา'' หรือ ''วัดป่าเหล่างา'' ขึ้น ซึ่งปัจจุบันก็คือ [[วัดป่าวิเวกธรรม]] อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น [[File:วัดภูเขาแก้ว7.jpg|thumb|พระอุโบสถวัดภูเขาแก้ว ในปัจจุบัน]]
 
ปี [[พ.ศ. 2472]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้สร้างสำนักสงฆ์และจำพรรษาที่ ''วัดป่าโคกโจด'' ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ได้เทศนาสั่งสอนประชาชนให้ละมิจฉาทิฐิ เลิกจากการถือภูตฝีปีศาจ ให้ตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมน์ กำหราบหมอผีมนต์ดำเดรัชฉานวิชา รักษาชาวบ้านด้วยยาสมุนไพร ตลอดระยะเวลา 3 ปี
บรรทัด 52:
ปี [[พ.ศ. 2476]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้จำพรรษาอยู่ที่ ''วัดป่าศิลาวิเวก'' อำเภอเมือง [[จังหวัดมุกดาหาร]] ในช่วงนี้ท่านได้ปฎิบัติธรรมกรรมฐานทำความเพียรอย่างอุกฤษฎ์ และได้รับ ''สามเณรถิร บุญญวรรณ'' เป็นศิษย์ ซึ่งต่อมาก็คือ ''หลวงปู่ถิร ฐิตธมฺโม'' หรือ [[พระครูสถิตธรรมวิสุทธิ์ (ถิร ฐิตธมฺโม)]]
 
ปี [[พ.ศ. 2479]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้มีโอกาสกราบถวายตัวเป็นศิษย์ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] และได้ออกธุดงค์ติดตามหลวงปู่ใหญ่เสาร์ตลอด จนกระทั้งวาระสุดท้ายที่หลวงปู่เสาร์มรณภาพ
 
ในปีนั้น [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้ปรารภถึงการเดินทางกลับ[[จังหวัดอุบลราชธานี]] คณะศิษย์ทั้งหลายจึงได้จัดประชุมคณะสงฆ์และร่วมทำบุญใน[[วันมาฆบูชา]] ณ ''วัดอ้อมแก้ว'' หรือ [[วัดเกาะแก้วอัมพวัน]] [[อำเภอธาตุพนม]] [[จังหวัดนครพนม]] ถือเป็นภารกิจสุดท้ายของหลวงปู่ใหญ่เสาร์ที่จังหวัดนครพนมและถือเป็นโอวาทครั้งสุดท้ายแก่คณะศิษย์ที่ไม่ได้เดินทางติดตามไปที่จังหวัดอุบลราชธานี การประชุมในครั้งนี้ ถือเป็นการประชุมพระธุรงค์กรรมฐานครั้งใหญ่ที่สุดของจังหวัดนครพนมในสมัยนั้น
 
คณะศิษย์ได้เดินทางติดตาม [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ไปพำนักที่จังหวัดอุบลราชธานี ในครั้งนั้นมีไม่น้อยกว่า 70-80 รูป หลวงปู่ใหญ่เสาร์จึงแบ่งคณะศิษย์ออกเป็นหลายกลุ่มหลายคณะ โดยมีศิษย์อาวุโสรับเป็นหัวหน้าแต่ละคณะ พร้อมทั้งกำหนดหมู่บ้านต่างๆ ที่แต่ละคณะจไปพำนักเพื่อโปรดญาติโยมชาวเมืองอุบลราชธานี เช่น [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ไปพำนักจำพรรษาที่บ้านข่าโคม บ้านเกิดของท่าน [[พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล]] ศิษย์อาวุโสฝ่าย[[มหานิกาย]] ไปตั้งวัดจำพรรษาอยู่ที่บ้านชีทวน [[พระอาจารย์บุญมาก ฐิติปุญโญ]] ไปอยู่บ้านท่าศาลา [[พระอาจารย์ทอง อโสโก]] ไปอยู่บ้านสวนงัว และ[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ไปอยู่บ้านกุดแห่ ซึ่งเป็นบ้านของท่าน เป็นต้น
[[File:วัดภูเขาแก้ว7.jpg|thumb|พระอุโบสถวัดภูเขาแก้ว ในปัจจุบัน]]
ปี [[พ.ศ. 2480]] [[สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)]] ในขณะที่ดำรงสมณศักดิ์เป็น ''พระพรหมมุนี'' และดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส[[วัดสุปัฏนาราม]]และเจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา ได้ขอให้ [[พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)]] พิจารณาสร้างวัดป่ากรรมฐานขึ้นที่[[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] ด้วยเหตุนี้ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] จึงมอบหมายให้ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ออกธุดงค์ไปยัง[[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] ตั้งสำนักปฎิบัติธรรมกรรมฐานที่ '''ป่าช้าโคกภูดิน''' บริเวณเนินเขาสูง โดยมี[[สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)]]และชาวอำเภอพิบูลมังสาหารได้ให้การอุปถัมภ์สนับสนับ ชาวบ้านเรียกสำนักแห่งนี้ว่า ''วัดป่าภูดิน'' หรือ ''วัดป่าภูเขาแก้ว'' ซึ่งมี [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกและอยู่จำพรรษาที่วัดแห่งนี้ในช่วงปัจฉิมวัยเป็นเวลานานหลายปี หรือในปัจจุบันก็คือ [[วัดภูเขาแก้ว]] [[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
 
ปี [[พ.ศ. 24812480]] [[สมเด็จพระอาจารย์ดีมหาวีรวงศ์ ฉนฺโน(อ้วน ติสฺโส)]] และชาวอำเภอพิบูลมังสาหารในขณะที่ดำรงสมณศักดิ์เป็น ได้ก่อสร้าง''พระพรหมมุนี'' และดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส[[วัดดอนธาตุสุปัฏนาราม]]และเจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา ขึ้นเพื่อถวายได้ขอให้ [[หลวงปู่พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล)]] เนื่องด้วยหลวงปู่ใหญ่เสาร์ได้ไปสำรวจเกาะแก่งน้อยใหญ่ตามลำ[[แม่น้ำมูล]]ทางตอนใต้ของเมืองพิบูลมังสาหาร และได้ปรารภว่าอยากพิจารณาสร้าง ''เกาะดอนธาตุ'' ขึ้นเป็นวัดป่ากรรมฐานเพราะมีความเหมาะสม จึงมอบหมายให้ ขึ้นที่[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโนอำเภอพิบูลมังสาหาร]] รับหน้าที่ดูแลการสร้างวัดและเสนาสนะต่อไป ซึ่งในวัดแห่งด้วยเหตุนี้ได้สร้าง ''พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน)'' ขึ้นตามดำริของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] โดยมีจึงมอบหมายให้ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] เป็นช่างปั้นพระพุทธรูปในครั้งนี้ และในการนี้ ออกธุดงค์ไปยัง[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโลอำเภอพิบูลมังสาหาร]] ได้ตั้งชื่อสำนักปฎิบัติธรรมกรรมฐานที่ ''เกาะดอนธาตุ'ป่าช้าโคกภูดิน''' บริเวณเนินเขาสูง โดยมี[[สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)]]และชาวอำเภอพิบูลมังสาหารได้ให้การอุปถัมภ์สนับสนับ ชาวบ้านเรียกสำนักแห่งนี้ว่า ''วัดเกาะแก้วพระนอนคอนสวรรค์วิเวกพุทธกิจศาสนาป่าภูดิน'' ครูบาอาจารย์ในสมัยนั้นเรียกสั้นๆว่าหรือ ''วัดเกาะป่าภูเขาแก้ว'' ต่อมากรมการศาสนาได้เปลี่ยนชื่อให้เป็นซึ่งมี [[วัดดอนธาตุ]]พระอาจารย์ดี ในปัจจุบัน ซึ่งปัจฉิมวัยของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโลฉนฺโน]] ได้พำนักเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกและอยู่จำพรรษาที่วัดแห่งนี้เป็นเวลานานหลายปี ซึ่งในปัจจุบันก็คือ [[วัดดอนธาตุภูเขาแก้ว]] [[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] อันเป็นสถานที่ที่ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] สร้างถวายแห่งนี้ [[File:วัดดอนธาตุ1.jpg|thumb|พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) ณ วัดดอนธาตุ อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี]]
 
ปี [[พ.ศ. 2481]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] และชาวอำเภอพิบูลมังสาหาร ได้ก่อสร้าง [[วัดดอนธาตุ]] ขึ้นเพื่อถวาย [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] เนื่องด้วยหลวงปู่ใหญ่เสาร์ได้ไปสำรวจเกาะแก่งน้อยใหญ่ตามลำ[[แม่น้ำมูล]]ทางตอนใต้ของเมืองพิบูลมังสาหาร และได้ปรารภว่าอยากสร้าง ''เกาะดอนธาตุ'' ขึ้นเป็นวัดป่ากรรมฐานเพราะมีความเหมาะสม จึงมอบหมายให้ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] รับหน้าที่ดูแลการสร้างวัดและเสนาสนะต่อไป ซึ่งในวัดแห่งนี้ได้สร้าง ''พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน)'' ขึ้นตามดำริของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] โดยมี [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] เป็นช่างปั้นพระพุทธรูปในครั้งนี้ และในการนี้ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้ตั้งชื่อ ''เกาะดอนธาตุ'' แห่งนี้ว่า ''วัดเกาะแก้วพระนอนคอนสวรรค์วิเวกพุทธกิจศาสนา'' ครูบาอาจารย์ในสมัยนั้นเรียกสั้นๆว่า ''วัดเกาะแก้ว'' ต่อมากรมการศาสนาได้เปลี่ยนชื่อให้เป็น [[วัดดอนธาตุ]] ในปัจจุบัน ซึ่งปัจฉิมวัยของ[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ได้พำนักจำพรรษา ณ [[วัดดอนธาตุ]] [[อำเภอพิบูลมังสาหาร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] อันเป็นสถานที่ที่ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] สร้างถวายแห่งนี้
 
ปี [[พ.ศ. 2485]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้ธุดงค์ติดตามอุปัฏฐากรับใช้[[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] ในวาระสุดท้าย และได้อยู่ในเหตุการณ์ขณะที่ [[หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล]] มรณภาพ ในอิริยาบถนั่งกราบพระประธานครั้งที่ 3 ภายในพระอุโบสถ[[วัดอำมาตยาราม]] [[อำเภอวรรณไวทยากร]] [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]] [[ประเทศไทย]] ในขณะนั้น (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ[[แขวงจำปาศักดิ์]] [[ประเทศลาว]]) เมื่อวันอังคาร แรม 3 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 สิริอายุ 82 ปี พรรษา 62 คณะศิษย์ได้เชิญศพของท่านกลับมา ณ [[วัดบูรพาราม]] อำเภอเมือง [[จังหวัดอุบลราชธานี]] และได้ทำการฌาปนกิจในวันที่ 15 - 16 เมษายน [[พ.ศ. 2486]]
 
ปี [[พ.ศ. 2493]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้ไปพำนักอยู่จำพรรษาและรับเป็นเจ้าอาวาส[[วัดป่าแสนสำราญ]] [[อำเภอวารินชำราบ]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] เพื่อโปรดญาติโยมในท้องที่อำเภอวารินชำราบ แต่ในช่วงออกพรรษาของแต่ละปี ท่านก็ได้ออกธุดงค์ปลีกวิเวกไปตามท้องที่ต่างๆเพื่อโปรดศรัทธาญาติโยม
 
ปี [[พ.ศ. 2498]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ในปัจฉิมวัยได้เดินทางกลับไปพำนักอยู่จำพรรษาอยู่ ''บ้านกุดแห่''ซึ่งเป็นบ้านของท่าน และรับเป็นเจ้าอาวาส[[วัดป่าสุนทราราม]] ตำบลกุดเชียงหมี กิ่งอำเภอเลิงนกทา จังหวัดอุบลราชธานี ในขณะนั้น ซึ่งปัจจุบันก็คือ [[วัดป่าสุนทราราม]] ตำบลกุดแห่ [[อำเภอเลิงนกทา]] [[จังหวัดยโสธร]]
 
==มรณภาพ==
 
'''การปลงอายุสังขาร''' เมื่อปี[[พ.ศ. 2502]] ในต้นเดือนกุมภาพันธ์ [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้นัดญาติโยมบ้านกุดแห่ บ้านดอนสวรรค์ บ้านดอนป่าโมง บ้านม่วง ให้มาประชุมกัน ณ [[วัดป่าสุนทราราม]] เมื่อถึงเวลาได้มีศรัทธาญาติโยมมากันเป็นจำนวนมาก ท่านได้กล่าวในที่ประชุมว่า ''"ป่วยอยู่ที่วัดภูถ้ำพระหลายวันแล้ว ได้สกัดหินออกให้ถ้ำกว้างขึ้น ได้พระงามา 1 องค์ ในหลืบหิน ขณะนี้อาการป่วยมีปวดบั้นเอวมาก ได้นิมิตว่าเดินเข้าวัดได้เห็นคนปั้นขี้ผึ้ง แล้วได้ถามว่าปั้นอะไร เขาตอบว่าปั้นเอวพระอาจารย์ดี ถามอีกต่อว่าต่อได้ไหม เขาตอบว่าต่อไม่ได้เป็นขี้เถาไปแล้ว นิมิตนั้นอาตมาเห็นว่าการป่วยคราวนี้คงจะหายได้ยาก"'' และท่านได้มอบหมายให้ ''พระอาจารย์สิงห์ทอง ปภากโร'' ลูกศิษย์องค์สำคัญ ซึ่งต่อมาก็คือ [[พระครูสุนทรศีลขันธ์ (สิงห์ทอง ปภากโร)]] เป็นเจ้าอาวาส[[วัดป่าสุนทราราม]]แทน และหลังจากนั้น 3 วันต่อมา [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้เดินทางไปอยู่[[วัดป่าแสนสำราญ]] [[อำเภอวารินชำราบ]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] ซึ่งท่านได้ให้เหตุผลว่า เพราะที่นั้นเป็นศูนย์กลาง ศิษย์ทางใต้ ทางกรุงเทพฯ ก็จะมารวมกันที่นี่ ทางตะวันออก พิบูลมังสาหาร นาจะหลวย เดชอุดม ก็จะมารวมกันที่นั้น ทางเหนือ และได้เข้ารักษาอาการป่วยที่โรงพยาบาลทหาร อำเภอวารินชำราบ และโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี แต่อาการอาพาธก็ไม่ดีขึ้น
 
'''ปัจฉิมวัย''' ในวาระสุดท้าย [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] มีอาการอาพาธบริเวณช่องท้องและเอว ท่านเล่าว่า ''"นิมิตเห็นว่าชาติปางก่อน เป็นพ่อค้า ได้นำสินค้าขึ้นเกวียนบรรทุกไปขายที่เมืองต่างๆ โดยใช้วัวลางจูง แล้วได้ใช้เหล็กปฏักอันแหลมคมทิ่มแทงที่เอวของวัว เพื่อให้มันลางจูงเกวียนไป กรรมที่เคยทำไว้ในอดีตชาตินั้นส่งผลให้เจ็บป่วยบ่อย รักษาอย่างไรก็ไม่หาย"''
 
'''ปัจฉิมพจน์''' วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2502 เมื่อเวลาประมาณตี 4 เกือบตี 5 พระเณรลูกศิษย์ในวัดนั่งล้อมเป็นหัตถบาตร [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ท่านได้ให้ [[พระอาจารย์พุธ ฐานิโย]] พยุงอยู่ในอิริยาบทนั่งพิงหมอนสามเหลี่ยม แล้วท่านก็ได้พิจารณามองไปรอบๆ อีกทั้งกาลเวลาใกล้รุ่งเป็นเวลาอันเงียบสงบ และแล้วท่านก็แสดงธรรมเป็นวาระสุดท้าย โดยมีปัจฉิมพจน์ว่า ''"ผู้ที่อยู่ที่นี้จงฟัง...เบญจขันธ์นั้นเป็นของโลก ศิษย์แห่งพระพุทธองค์ที่ต่อสู้ปฎิบัติมาตลอดก็เพื่อเวลานี้ ถึงเวลาที่จะต้องปล่อยวางเบณจขันธ์สั่งเสียแล้ว ต่อไปนี้ ให้ผู้ที่อยู่หมั่นบำเพ็ญเพียรภาวนาตามแนวทางครูอาจารย์ที่สืบปฎิบัติมา กำหนดจิตรู้ที่ตนเท่านั้น..."'' หลังจากท่านพูดจบก็นิ่งเงียบไปประมาณ 5 นาที ท่านก็ได้ละสังขารไป มรณภาพลงด้วยอาการอันสงบ ณ ที่นั้น
 
[[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] มรณภาพในอิริยาบทท่านั่งสมาธิ พิงหมอนอิงใบใหญ่ เมื่อวันที่ [[5]] [[เมษายน]] [[พ.ศ. 2502]] เวลา 05.30 น. ณ [[วัดป่าแสนสำราญ]] [[อำเภอวารินชำราบ]] [[จังหวัดอุบลราธานี]] สิริอายุ 66 ปี พรรษา 45 ทางราชการและคณะสงฆ์ ได้ลงมติให้จัดพิธีฌาปนกิจ ในวันที่ 10 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2503 เป็นเวลา 5 วัน 5 คืน
ปี [[พ.ศ. 2498]] [[พระอาจารย์ดี ฉนฺโน]] ได้เดินทางกลับไปพำนักอยู่จำพรรษาอยู่ ''บ้านกุดแห่'' และรับเป็นเจ้าอาวาส[[วัดป่าสุนทราราม]] ตำบลกุดเชียงหมี กิ่งอำเภอเลิงนกทา จังหวัดอุบลราชธานี ในขณะนั้น ซึ่งปัจจุบันก็คือ [[วัดป่าสุนทราราม]] ตำบลกุดแห่ [[อำเภอเลิงนกทา]] [[จังหวัดยโสธร]]
 
 
== อ้างอิง ==
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ปรมินทร์ แสงศักดิ์สิทธารถ| ชื่อหนังสือ = พระอาจารย์ดี ฉันโน อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าสุนทราราม บ้านกุกแห่ อำเภอเลิกนกทา จังวัดยโสธร| จำ]นวนหน้า =153}}