ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าชัยวรมันที่ 7"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
GünniX (คุย | ส่วนร่วม)
<br /> using AWB
บรรทัด 48:
หลังจากสถาปนาศูนย์กลางอาณาจักรแล้ว พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 จึงทรงแก้แค้นศัตรูเก่าคืออาณาจักรจามปา ใน พ.ศ. 1733 กองทัพของพระองค์ก็สามารถยึดเมืองวิชัยยะ เมืองหลวงของจามปาได้ นอกเหนือจากการสงครามแล้ว พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ได้สร้างพุทธสถานไว้มากมาย เช่น ปราสาทบันทายคดี ปราสาทตาพรม ที่สร้างถวายพระมารดา ปราสาทพระขรรค์ สร้างถวายพระบิดา ปราสาทตาโสม [[ปราสาทนาคพัน]] ปราสาทบันทายฉมาร์ ในเขตประเทศไทยปัจจุบัน พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เป็นผู้บูรณะ[[อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย|ปราสาทหินพิมาย]]ซึ่งสันนิษฐานเป็นเมืองเกิดของพระมารดา และปราสาทเขาพนมรุ้ง ให้เป็นศาสนสถานในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน และยังมี[[อาณาจักรละโว้]] [[อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ|เมืองศรีเทพ]] อีกด้วย
 
นอกจากนี้ พระองค์ยังโปรดให้สร้าง “บ้านมีไฟ” หรือที่พักคนเดินทาง ซึ่งก่อด้วยศิลา และจุดไฟไว้ตลอด ศาสตราจารย์ หลุยส์ ฟิโนต์ ผู้อำนวยการคนแรกของสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพาทิศ เรียกอาคารแบบนี้ว่า “ธรรมศาลา”
 
จารึกที่ปราสาทพระขรรค์ กล่าวถึงที่พักคนเดินทางว่ามีจำนวน 121 แห่ง อยู่ตามทางเดินทั่วราชอาณาจักร และตามทางเดินไปเมืองต่างๆ ในจำนวนนั้น มี 17 แห่งอยู่ระหว่างการเดินจากเมืองพระนครไปยังเมืองพิมาย ซึ่งศาสตรจารย์ ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล พบว่าที่พักคนเดินทางเท่าที่ค้นพบแล้วมี 7 แห่ง แต่ละแห่งห่างกันประมาณ 12 – 15 กิโลเมตร .. จารึกปราสาทพระขรรค์ระบุอีกว่า มีการสร้างโรงพยาบาล หรือที่จารึกเรียกว่า “อโรคยาศาลา” จำนวน 102 แห่ง กระจายอยู่ทั่วราชอาณาจักร ซึ่งมีส่วนหนึ่งอยู่ในเขตประเทศไทย
บรรทัด 57:
[[ไฟล์:AngkorThom-SouthGate2.jpg|thumb|right|200px|พระพักตร์ของ[[พระโพธิสัตว์]][[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์|อวโลกิเตศวร]] ที่ประตูด้านใต้]]
 
'''นครธม''' ({{lang-km|អង្គរធំ}}) เป็น[[เมืองหลวง]]แห่งสุดท้ายและเมืองที่เข้มแข็งที่สุดของ[[อาณาจักรขะแมร์]] สถาปนาขึ้นในปลาย[[คริสต์ศวรรษที่ 12]] โดย[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 7]] มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ 9 ตารางกิโลเมตร อยู่ทางทิศเหนือของ [[นครวัด]] ภายในเมืองมีสิ่งก่อสร้างมากมายนับแต่สมัยแรกๆ และที่สร้างโดยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และรัชทายาท ใจกลางพระนครเป็นปราสาทหลักของพระเจ้าชัยวรมัน เรียกว่า [[ปราสาทบายน]] และมีพื้นที่สำคัญอื่นๆ รายล้อมพื้นที่ชัยภูมิถัดไปทางเหนือ
 
จุดเด่นที่สุดคือทางเข้าด้านใต้ ที่มีลักษณะเป็นหน้า 4 หน้า ก่อนจะเข้าสู่บริเวณนี้ จะเป็นแถวของยักษ์ (อสูร) ทางด้านขวา และเทวดาทางด้านซ้าย เรียงรายแบกพญานาคอยู่สองข้างสะพาน เมื่อเข้าสู่ใจกลางนครธมจะพบสิ่งก่อสร้างต่างๆ บริเวณประตูด้านใต้นี้ได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูไว้ได้ดีกว่าบริเวณอื่นๆ อีก 3 ด้าน
บรรทัด 69:
| สี3 = #E0951D
| รูปภาพ =Coat_of_arms_of_Cambodia.svg
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา|พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[ราชอาณาจักรกัมพูชา]]</br />([[จักรวรรดิเขมร ]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน]]