ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Konnai (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
Konnai (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน อ้างอิงข้อมูลตามเว็บไซต์ กสทช. nbtc.go.th
บรรทัด 13:
| ภาพ_กว้าง =
| ภาพ_บรรยาย =
| วันก่อตั้ง = [[20 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2553]]
| ผู้ก่อตั้ง =
| สืบทอดจาก_1 = [[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] (พ.ศ. 2441-2545)
บรรทัด 52:
| หัวหน้า1_ชื่อ = [[ฐากร ตัณฑสิทธิ์]]
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = เลขาธิการ
| หัวหน้า2_ชื่อ = [[ไตรรัตน์ วิริยะศิริกุล]]
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง = รองเลขาธิการ (สายงานยุทธศาสตร์และกิจการองค์กร)
| หัวหน้า3_ชื่อ = [[http://wikithai.com-th.com พลอากาศตรี]] [[ธนพันธุ์ หร่ายเจริญ]]
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองเลขาธิการ (สายงานบริหารคลื่นความถี่และภูมิภาค)
| หัวหน้า4_ชื่อ = [[ผู้ช่วยศาสตราจารย์]] ดร. [[ภักดี มะนะเวศ]]
| หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองเลขาธิการ (สายงานกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์)
| หัวหน้า5_ชื่อ = [[ก่อกิจ ด่านชัยวิจิตร]]
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองเลขาธิการ (สายงานกิจการโทรคมนาคม)
| หัวหน้า6_ชื่อ = [[ทศพรพากเพียร เกตุอดิศร]]สุนทรสิต
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
| หัวหน้า7_ชื่อ = [[พิทยาพล จันทนะสาโร]]
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง = ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
| หัวหน้า8_ชื่อ = [[พากเพียร สุนทรสิต]]
| หัวหน้า8_ตำแหน่ง = ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
| หัวหน้า9_ชื่อ = [[องอาจ เรืองรุ่งโสม]]
| หัวหน้า9_ตำแหน่ง = ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
| หัวหน้า10_ชื่อ =
| หัวหน้า10_ตำแหน่ง =
บรรทัด 88:
| เอกสารหลัก_5 =
| เอกสารหลัก_6 =
| เว็บไซต์ = httphttps://www4.nbtc.go.th/
| หมายเหตุ = เป็นองค์กรตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]
| แผนที่ =
บรรทัด 119:
* กิจการโทรศัพท์ในประเทศ แยกออกไปจัดตั้งเป็น [[องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย]] (บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) เมื่อปี พ.ศ. 2497<ref>{{cite web|author=บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)|title=อดีตถึงปัจจุบัน|url=http://www.tot.co.th/index.php?option=com_content&task=view&id=183&Itemid=427|accessdate=16 พฤษภาคม พ.ศ. 2552}}</ref>
 
ต่อมาเมื่อมี[[พระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย]] พ.ศ. 2519 จึงมีการแยกส่วนงานของกรมไปรษณีย์โทรเลขอีกครั้ง คือ<ref name="thailandpost_hist" />
* งานระดับปฏิบัติการทางด้านไปรษณีย์และโทรคมนาคม แยกไปขึ้นอยู่กับรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นใหม่ คือ [[การสื่อสารแห่งประเทศไทย]] (บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน) ซึ่งมีหน้าที่ให้บริการด้านการสื่อสารแก่สาธารณะ ทั้งบริการไปรษณีย์ โทรคมนาคม และบริการการเงิน
* กรมไปรษณีย์โทรเลขรับผิดชอบงานนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่ตาม[[พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม]] พ.ศ. 2498 อันเกี่ยวข้องกับ[[ การบริหารคลื่นความถี่วิทยุ]] งานนโยบาย งานวิชาการ งานวิจัยพัฒนา และงานที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารในประเทศและระหว่างประเทศ
 
==== การเปลี่ยนแปลงกิจการ ====
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม [[พ.ศ. 2543]] การโอนกิจการไปสู่การเป็นคณะกรรมการทั้ง 2 องค์กร มีดังต่อไปนี้
* [[19 มกราคม]] [[พ.ศ. 2545]] หลังจากมีการประกาศใช้ พระราชกฤษฎีกา ยุบกรมไปรษณีย์โทรเลข กระทรวงคมนาคม พุทธศักราช 2545 แล้ว ดังนั้น กรมฯ จึงได้โอนถ่ายบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้ หน้าที่ ความรับผิดชอบ การปฏิบัติงานทั้งหมด ไปเป็น สำนักงาน กทช. ส่วนในด้านกิจการไปรษณีย์ และเงินงบประมาณทั้งเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการกับลูกจ้างซึ่งยังมีผลครอบครองอยู่ พร้อมกับกลุ่มบุคคลเดิม ไปเป็นหน้าที่ของ สำนักงานปลัด[[กระทรวงคมนาคม]] ในมาตรา 82, 83, 84
 
* ส่วนในด้านของ[[กรมประชาสัมพันธ์]] ได้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ งบประมาณ การปฏิบัติงานทั้งหมด ในส่วนของกองงานคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี ไปเป็น สำนักงาน กสช. ส่วนในด้านงบประมาณทั้งเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการกับลูกจ้างซึ่งยังมีผลครอบครองอยู่ พร้อมกับกลุ่มบุคคลเดิม ให้ยังคงไว้กับกรมประชาสัมพันธ์อยู่เช่นเดิม ในมาตรา 85, 86
 
ทั้งนี้ [[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] ถูกยุบเลิกไปเป็น สำนักงาน กทช. ตามกฎหมายพระราชกฤษฎีกายุบกรมไปรษณีย์โทรเลข กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2545 เป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น ก็ได้มีการโอนกิจการไปรษณีย์ พ้นจากกรมฯโดยทันที หลังวันเปลี่ยนผ่านไปสังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นต้น (ทั้งนี้ การแปรสภาพไปเป็นองค์กรใหม่โดยสมบูรณ์นั้น เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) ส่วนงานด้านโทรเลข ก็ได้ดำเนินการจนถึงปี [[พ.ศ. 2551]] โดยขึ้นกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด
 
แต่ต่อมา พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม [[พ.ศ. 2553]] มีการประกาศบังคับใช้ ทำให้มีการรวมคณะกรรมการทั้งสอง คือ กทช. และ กสช.
บรรทัด 135:
พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ทำให้สถานะของ กทช. ต้องยุติลง และจัดตั้ง กสทช. ขึ้นแทน
 
== องค์กรและหน่วยงานในกำกับปัจจุบัน ==
* [['''สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และโทรคมนาคมแห่งชาติ]]''' ({{lang-en|Office of National Broadcasting and Telecommunications Commission}}) หรือ '''สำนักงาน กสทช.''' - เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเป็นสำนักงานเลขานุการของ คณะกรรมการ กสทช. ที่มีชื่อเดิมคือ กรมไปรษณีย์โทรเลข และสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ตามลำดับ ซึ่งพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 บัญญัติให้มีการโอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ หนี้ และงบประมาณของ[[กรมไปรษณีย์โทรเลข]]ไปเป็นของ''สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ''(ชื่อในขณะนั้น) รวมทั้งข้าราชการและลูกจ้างของกรมไปรษณีย์โทรเลข ปัจจุบัน'''สำนักงาน กสทช.''' มี'''เลขาธิการ กสทช.''' เป็นผู้บริหารสูงสุดที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานของสำนักงาน และรายงานขึ้นตรงต่อ ประธาน''คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ''<ref>{{cite web|title="ประวัติสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ "|url=http://www.ntc.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=1011&Itemid=91|publisher=สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ|accessdate=18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552}}</ref>
* [['''สถานีวิทยุกระจายเสียง 1 ปณ.]]''' - เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงที่ขึ้นตรงกับ สำนักงาน กสทช. ซึ่งมีสถานีวิทยุในบางจังหวัดของประเทศ สำหรับสถานีส่วนกลางที่กรุงเทพมหานครนั้น ส่งกระจายเสียงในระบบวีเอชเอฟ ภาค เอฟ เอ็ม ความถี่ 98.5 MHz และ 106.5 MHz ภาค เอ เอ็ม ความถี่ 1035 KHz และ 1089 KHZ ซึ่งสามารถส่งสัญญาณได้จนถึงปริมณฑล และบริเวณที่ใกล้เคียงแต่ในขณะนี้ทางสถานีฯได้ให้เอกชนเช่าคลื่นความถี่และสัมปทานอยู่
* [[สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม]] ({{lang-en|Telecommunications Research and Industrial Development Institute}}) หรือ '''สพท.''' - จัดตั้งขึ้นโดย ''คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ'' ให้เป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เพื่อดำเนินการตามภารกิจของอำนาจหน้าที่ในพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 มาตรา 51 (15) และ (16) กล่าวคือ การส่งเสริมการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง<ref>{{cite web|title="สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม - ความเป็นมา"|url=http://tridi.ntc.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=50&Itemid=58|publisher=สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม|accessdate=18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552}}</ref> (ได้ยกเลิก สพท. เมื่อปี 2555)
 
* [[สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม]] ({{lang-en|Telecommunications Consumer Protection Institute}}) หรือ '''สบท.''' - จัดตั้งขึ้นโดย กทช. ในปี พ.ศ. 2550 เพื่อดำเนินการต่าง ๆ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมตามแผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2<ref>{{cite web|title="ระเบียบการจัดตั้งสถาบัน"|url=http://www.tci.or.th/aboutus.asp?id=A1|publisher=สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม|accessdate=18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552}}</ref> (ได้ยกเลิก สบท.เมื่อปี 2555 และโอนย้ายพนักงานเข้าส่วนงานต่างๆ ในฐานะพนักงานสัญญาจ้าง)
== องค์กรและหน่วยงานในกำกับที่ถูกยกเลิก (พ.ศ.2547 - พ.ศ.2553) ==
* [[สถานีวิทยุกระจายเสียง 1 ปณ.]] - เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงที่ขึ้นตรงกับ สำนักงาน กสทช. ซึ่งมีสถานีวิทยุในบางจังหวัดของประเทศ สำหรับสถานีส่วนกลางที่กรุงเทพมหานครนั้น ส่งกระจายเสียงในระบบวีเอชเอฟ ภาค เอฟ เอ็ม ความถี่ 98.5 MHz และ 106.5 MHz ภาค เอ เอ็ม ความถี่ 1035 KHz และ 1089 KHZ ซึ่งสามารถส่งสัญญาณได้จนถึงปริมณฑล และบริเวณที่ใกล้เคียงแต่ในขณะนี้ทางสถานีฯได้ให้เอกชนเช่าคลื่นความถี่และสัมปทานอยู่
* [['''สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม]]''' ({{lang-en|Telecommunications Research and Industrial Development Institute}}) หรือ '''สพท.''' - จัดตั้งขึ้นโดย ''คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ'' ให้เป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เพื่อดำเนินการตามภารกิจของอำนาจหน้าที่ในพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 มาตรา 51 (15) และ (16) กล่าวคือ การส่งเสริมการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง<ref>{{cite web|title="สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม - ความเป็นมา"|url=http://tridi.ntc.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=50&Itemid=58|publisher=สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม|accessdate=18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552}}</ref> (ได้ยกเลิก สพท. เมื่อปี 2555)
* [['''สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม]]''' ({{lang-en|Telecommunications Consumer Protection Institute}}) หรือ '''สบท.''' - จัดตั้งขึ้นโดย กทช. ในปี พ.ศ. 2550 เพื่อดำเนินการต่าง ๆ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมตามแผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2<ref>{{cite web|title="ระเบียบการจัดตั้งสถาบัน"|url=http://www.tci.or.th/aboutus.asp?id=A1|publisher=สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม|accessdate=18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552}}</ref> (ได้ยกเลิก สบท.เมื่อปี 2555 และโอนย้ายพนักงานเข้าส่วนงานต่างๆ ในฐานะพนักงานสัญญาจ้าง)
 
 
== คณะกรรมการ ==