ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตาเหล่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q179951
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 6:
| field = [[จักษุวิทยา]]
| pronounce = {{IPAc-en |s|t|r|ə|ˈ|b|ɪ|z|m|ə|s}}<ref name=Ox2017>{{cite web | title = Strabismus noun - Definition, pictures, pronunciation and usage notes {{!}} Oxford Advanced Learner's Dictionary | url = https://www.oxfordlearnersdictionaries.com/definition/english/strabismus | website = www.oxfordlearnersdictionaries.com | accessdate = 2017-08-01 | language = en}}</ref>
| symptoms = ตาส่อน<ref name=NEI2016Def>{{cite web | title = Visual Processing: Strabismus | date = 2010-06-16 | url = https://www.nei.nih.gov/faqs/visual-processing-strabismus | website = National Eye Institute | publisher = National Institutes of Health | accessdate = 2016-10-02}}</ref>
| symptoms = ตาส่อน<ref name=NEI2016Def/>
| complications = [[ตามัว]] [[เห็นเป็นสองภาพซ้อน]]<ref name=Gun2015/>
| types = '''esotropia''' (เหล่เข้า) '''[[exotropia]]''' (เหล่ออก) '''hypertropia''' (เหล่ขึ้น)<ref name=Gun2015/>
| causes = ปัญหา[[กล้ามเนื้อ]]ตา สายตายาว ปัญหาใน[[สมอง]] [[บาดเจ็บ]] [[ติดเชื้อ]]<ref name=Gun2015/>
| risks = [[คลอดก่อนกำหนด]] [[อัมพาตสมองใหญ่]] ประวัติครอบครัว<ref name=Gun2015/>
บรรทัด 27:
| alt3 = ตาเหล่ออก
| caption3 = ตาเหล่ออก (Exotropia)
| footer = เส้นขาดเป็นระยะที่ตรึงตา คนทั้งสามใช้ตาขวาในการตรึงตา ด้วยตาขวา
}}
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
บรรทัด 39:
{{cite web | url = http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/strabismus | title = strabismus | website = English: Oxford Living Dictionaries | publisher = Oxford University Press | date = 2016 | access-date = 2016-04-06 }}</ref><ref>
{{cite web | title = wall eye | url = https://en.oxforddictionaries.com/definition/wall_eye | website = English: Oxford Living Dictionaries | publisher = Oxford University Press | accessdate = 2017-05-16}}</ref>}})
เป็นภาวะที่[[ตา]]ทั้งสองไม่มองในแนวตรงที่เดียวกันพร้อม ๆ กันเมื่อกำลังจ้องดูวัตถุอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง<ref name=NEI2016Def>{{cite web | title = Visual Processing: Strabismus | date = 2010-06-16 | url = https://www.nei.nih.gov/faqs/visual-processing-strabismus | website = National Eye Institute | publisher = National Institutes of Health | accessdate = 2016-10-02}}</ref>
โดยตาข้างหนึ่งจะเบนไปในทางใดทางหนึ่งอย่างไม่คล้องจองกับตาอีกข้างหนึ่ง/หรือกับสิ่งที่มอง<ref>{{cite book | authors = Huether, Sue E; Rodway, George; DeFriez, Curtis | year = 2014 | title = Pathophysiology: the biologic basis for disease in adults and children | edition = 7th | chapter = 16 - Pain, Temperature Regulation, Sleep, and Sensory Function | editors = McCance, Kathryn L; Huether, Sue E; Brashers, Valentina L; Neal S, Rote. | publisher = Mosby | isbn = 978-0-323-08854-1 | quote = Strabismus is the deviation of one eye from the other when a person is looking at an object; it results in failure of the two eyes to simultaneously focus on the same image and therefore loss of binocular vision. | at = Chapter 16 Pain, Temperature Regulation, Sleep, and Sensory Function, pp. 509}}</ref>
โดยและตาทั้งสองอาจสลับเล็งมองที่วัตถุ<ref name=Gun2015/>
ซึ่งและอาจเกิดเป็นบางครั้งบางคราวหรือเป็นตลอด<ref name=Gun2015/>
ถ้ามีอาการเป็นช่วงเวลานานในวัยเด็ก ก็อาจมีผลทำให้[[ตามัว]]หรือเสียการรับรู้ใกล้ไกล (depth perception)<ref name=Gun2015/>
แต่ถ้าเริ่มเกิดมีอาการเป็นช่วงเวลานานในวัยผู้ใหญ่เด็ก ก็มักจะอาจทำให้[[เห็นภาพซ้อนตามัว]]หรือเสีย[[การรู้ใกล้ไกล]]มากกว่า<ref name=Gun2015/>
แต่ถ้าเริ่มในวัยผู้ใหญ่ ก็มักจะทำให้[[เห็นภาพซ้อน]]มากกว่า<ref name=Gun2015/>
 
<!-- Cause and diagnosis -->
เส้น 52 ⟶ 53:
และเหล่ขึ้น (hypertropia) ที่ตาสูงต่ำไม่เท่ากัน<ref name=Gun2015/>
อาจเป็นแบบเหล่ทุกที่ที่มอง (comitant คือตาเหล่กลอกคู่) หรืออาจเหล่ไม่เท่ากันแล้วแต่มองที่ไหน (incomitant)<ref name=Gun2015/>
[[การวินิจฉัยทางการแพทย์|การวินิจฉัย]]อาจทำโดยสังเกตว่าแสงสะท้อนที่ตาไม่ตรงกับกลางรูม่านตา<ref name=Gun2015/>
มีภาวะอีกอย่างที่ทำให้เกิดอาการคล้าย ๆ กัน คือ โรคเส้นประสาทสมอง (cranial nerve disease)<ref name=Gun2015>{{cite journal | last1 = Gunton | first1 = KB | last2 = Wasserman | first2 = BN | last3 = DeBenedictis | first3 = C | title = Strabismus | journal = Primary care | date = 2015-09 | volume = 42 | issue = 3 | pages = 393-407 | pmid = 26319345 | doi = 10.1016/j.pop.2015.05.006 | subscription = yes}}</ref>
 
เส้น 65 ⟶ 66:
== อาการ ==
เมื่อสังเกตคนตาเหล่ อาจจะเห็นได้ชัด
คนไข้ที่ตาหันไปผิดทางมากและตลอดจะมองเห็นได้ง่าย
แต่ถ้าผิดทางน้อย หรือเป็นบางครั้งบางคราว อาจจะสังเกตตามปกติได้ยาก
ในทุก ๆ กรณี แพทย์พยาบาลเกี่ยวกับตาสามารถทดสอบด้วยวิธีต่าง ๆ เช่นปิดตา เพื่อตรวจดูว่าเป็นมากน้อยขนาดไหน
 
อาการของตาเหล่รวมทั้ง[[การเห็นภาพซ้อน (diplopia)]] และ/หรือตาล้า/ตาเพลีย (asthenopia)
เพื่อจะไม่ให้มีภาพซ้อน สมองอาจจะไม่สนใจข้อมูลจากตาข้างหนึ่ง (Suppression)
ในกรณีนี้ อาจจะไม่เห็นอาการอะไรในคนไข้ยกเว้นการเสีย[[การรู้ใกล้ไกล]]
และความบกพร่องนี้อาจมองไม่เห็นในคนไข้ที่ตาเหล่แต่กำเนิดหรือตั้งแต่วัยเด็กต้น ๆ
เพราะคนไข้จะอาจได้เรียนรู้[[การรับรู้ความใกล้ไกล#Monocular cues|การรู้ระยะใกล้ไกลโดยใช้ตาเดียว]]{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2016-11}}
แต่ตาเหล่อย่างสม่ำเสมอที่ทำให้ใช้ตาข้างเดียวตลอดอาจทำให้เสี่ยง[[ตามัว]]ในเด็ก
.
ส่วนตาที่เหล่อย่างเบา ๆ น้อยหรือเป็นบางครั้งบางคราวอาจทำให้เห็นผิดปกติอย่างเฉียบพลัน
แต่ตาเหล่อย่างสม่ำเสมอที่ทำให้ใช้ตาข้างเดียวอาจทำให้เสี่ยง[[ตามัว]]ในเด็ก
นอกจาก[[ปวดหัว]]และทำให้เมื่อยตาแล้ว อาการอาจรวม[[การอ่าน]]หนังสือไม่สบาย ความเมื่อยล้าเมื่ออ่านหนังสือ หรือการเห็นที่ไม่คงเส้นคงวา
ส่วนตาเหล่อย่างเบา ๆ หรือเป็นบางครั้งบางคราวอาจทำให้เห็นผิดปกติอย่างเฉียบพลัน
นอกจากปวดหัวและทำให้เมื่อยตา อาการอาจรวมการอ่านหนังสือไม่สบาย ความเมื่อยล้าเมื่ออ่านหนังสือ หรือการเห็นที่ไม่คงเส้นคงวา
 
=== ผลทางจิต-สังคม ===
[[ไฟล์:Ryan Gosling Cannes 2011.jpg|thumb|left| ตาเหล่ของ[[ดารา]]ชาย[[ไรอัน กอสลิง]] ทำให้เขาดูไม่เหมือนใคร]]
คนทุกวัยที่มีอาการตาเหล่อาจมีปัญหาทางจิต-สังคม<ref name="satterfield-et-al-1993">
{{cite journal | last1 = Satterfield | first1 = Denise | last2 = Keltner | first2 = John L. | last3 = Morrison | first3 = Thomas L. | date = 1993-08 | title = Psychosocial Aspects of Strabismus Study | journal = Archives of Ophthalmology | volume = 111 | issue = 8 | pages = 1100-5 | doi = 10.1001/archopht.1993.01090080096024 | subscription = yes | via = JAMA Network }}</ref><ref name="olitsky-et-al-1999">
{{cite journal | first1 = S.E. | last1 = Olitsky | first2 = S. | last2 = Sudesh | first3 = A. | last3 = Graziano | first4 = J. | last4 = Hamblen | first5 = S.E. | last5 = Brooks | first6 = S.H. | last6 = Shaha | title = The negative psychosocial impact of strabismus in adults | volume = 3 | number = 4 | pages = 209-211 | journal = Journal of American Association for Pediatric Ophthalmology and Strabismus | date = 1999-08 | doi = 10.1016/S1091-8531(99)70004-2 | pmid = 10477222 }}</ref><ref name="uretmen-et-al-2003">
{{cite journal | first1 = Onder | last1 = Uretmen | first2 = Sait | last2 = Egrilmez | first3 = Süheyla | last3 = Kose | first4 = Kemal | last4 = Pamukçu | first5 = Cezmi | last5 = Akkin | first6 = Melis | last6 = Palamar | title = Negative social bias against children with strabismus | journal = Acta Ophthalmologica Scandinavica | volume = 81 | issue = 2 | pages = 138-42 | date = 2003-04 | doi = 10.1034/j.1600-0420.2003.00024.x}}</ref>
มีและนักวิชาการที่ก็อ้างว่า ผู้ที่มีตาเหล่อย่างมองเห็นได้อาจได้รับผลทางสังคม-เศรษฐกิจด้วย
ดังนั้น การตัดสินรักษาจึงต้องพิจารณาผลทางปัญหาเหล่านี้ด้วย<ref name="satterfield-et-al-1993" /><ref name="olitsky-et-al-1999" /><ref name="uretmen-et-al-2003" />
รวมทั้งพยายามนอกเหนือไปจากการรักษาให้กลับ[[เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา (binocular vision)]]<ref>See peer discussion in:
{{cite journal | first1 = Marilyn B. | last1 = Mets | first2 = Cynthia | last2 = Beauchamp | first3 = Betty Anne | last3 = Haldi | title = Binocularity following surgical correction of strabismus in adults | journal = Transactions of the American Ophthalmological Society | year = 2003 | volume = 101 | pages = 201-7 | pmc = 1358989 | pmid = 14971578}}</ref>
 
งานศึกษาหนึ่งแสดงว่า เด็กตาเหล่มักจะมีพฤติกรรมช่างอาย วิตกกังวล และเป็นทุกข์ บ่อยครั้งทำให้มีความผิดปกติทางอารมณ์
ซึ่งเป็นอาการที่สัมพันธ์กับการที่เพื่อนมองในแง่ลบ
โดยไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องสวย ๆ งาม ๆ เท่านั้น แต่จะเกี่ยวกับธรรมชาติของตาและการมองที่เป็น[[สัญลักษณ์]]เครื่องหมายในการสื่อสารอีกด้วย
ซึ่งมีบทบาททางสังคมที่สำคัญต่อชีวิตของบุคคล
โดยเฉพาะก็คือ การมีตาเหล่จะขัดการสบตากับผู้อื่น ซึ่งสร้างความอับอาย ความโกรธเคือง และความเคอะเขิน และดังนั้นจึงมีผลต่อการสื่อสารทางสังคมโดยพื้นฐาน ซึ่งอาจมีผลลบต่อ[[ความภูมิใจในตน]]<ref>{{cite web | url = http://www.allaboutvision.com/conditions/strabismus.htm | title = Strabismus | website = All About Vision | publisher = Access Media Group }}</ref>
บรรทัด 98:
 
มีสิ่งที่บ่งชี้ว่า เด็กที่ตาเหล่ โดยเฉพาะแบบเหล่ออก มีโอกาสมีความผิดปกติทางจิตใจมากกว่าเด็กปกติ
โดยนักวิจัยก็ยังเชื่อด้วยว่า ที่ตาเหล่แบบเข้าไม่ปรากฏว่าสัมพันธ์กับโรคจิตก็เพราะพิสัยอายุของเด็กที่ร่วมงานวิจัย และเพราะระยะติดตามผลที่สั้นกว่า
คือเด็กที่ตาเหล่เข้าได้ติดตามจนถึงอายุเฉลี่ยที่ 15.8 ปี เทียบกับเด็กตาเหล่ออกที่ติตตามจนถึง 20.3 ปี<ref>
{{cite journal | first1 = Bruce J. | last1 = Tonge | first2 = George L. | last2 = Lipton | first3 = Gwen | last3 = Crawford | url = http://informahealthcare.com/doi/abs/10.3109/00048678409161038?journalCode=anp | title = Psychological and Educational Correlates of Strabismus in School Children | journal = Australian and New Zealand Journal of Psychiatry | date = 1984 | volume = 18 | issue = 1 | pages = 71-7 | doi = 10.3109/00048678409161038 | subscription = yes | via = Taylor & Francis Online }}</ref><ref>
{{cite journal | title = Mental Illness in Young Adults Who Had Strabismus as Children | journal = Pediatrics | date = 2008-11 | volume = 122 | issue = 5 | pages = 1033-1038 | doi = 10.1542/peds.2007-3484 | pmid = 18977984 | last1 = Mohney | first1 = B.G. | last2 = McKenzie | first2 = J.A. | last3 = Capo | first3 = J.A. | last4 = Nusz | first4 = K.J. | last5 = Mrazek | first5 = D. | last6 = Diehl | first6 = N.N. | pmc = 2762944}}</ref>
 
แต่งานศึกษาต่อมา งานศึกษากับเด็กในเขตภูมิภาคเดียวกันที่มีตาเหล่เข้าแต่กำเนิด ก็จึงได้ติดตามผลในระยะที่ยาวกว่า
แล้วพบว่า เด็กตาเหล่เข้ามีโอกาสเกิดโรคจิตบางอย่างเมื่อถึงวัยผู้ใหญ่ต้น ๆ คล้ายกับเด็กตาเหล่ออก โดยเด็กที่ตาเหล่ออกเป็นบางครั้ง และเด็กที่ตาเบนเข้าไม่พอ (convergence insufficiency)
โดยมีโอกาสเกิดโรคจิตเป็น 2.6 เท่าของเด็ก[[กลุ่มควบคุม]]
แต่ก็ไม่สัมพันธ์กับการคลอดก่อนกำหนด และไม่มีหลักฐานสัมพันธ์โรคจิตที่เกิดขึ้นทีหลัง กับตัวสร้างความเครียดทางจิต-สังคมที่คนไข้ตาเหล่มักจะมี
 
งานศึกษาต่าง ๆ ได้เน้นผลทั่วไปของความตาเหล่ต่อคุณภาพชีวิต<ref>{{cite journal | first1 = George R. | last1 = Beauchamp | first2 = Joost | last2 = Felius | first3 = David R. | last3 = Stager | first4 = Cynthia L. | last4 = Beauchamp | title = The utility of strabismus in adults | journal = Transactions of the American Ophthalmological Society | date = 2005-12 | number = 103 | pages = 164-172 | pmc = 1447571 | pmid = 17057800 | volume = 103 }}</ref>
มีงานศึกษาซึ่งผู้ร่วมการทดลองดูภาพของคนตาเหล่และไม่เหล่ แล้วแสดง[[ความเอนเอียง]]ในเชิงลบอย่างสำคัญต่อคนที่ตาเหล่อย่างเห็นได้
ซึ่งแสดงผลที่เป็นไปได้ทางสังคมเศรษฐกิจต่อคนตาเหล่ในเรื่องการหางาน และในเรื่องความสุขทั่วไปในชีวิตโดยทั่วไปอื่น ๆ<ref>{{cite journal | first1 = Stefania M. | last1 = Mojon-Azzi | first2 = Daniel S. | last2 = Mojon | title = Strabismus and employment: the opinion of headhunters | journal = Acta Ophthalmologica | volume = 87 | number = 7 | pages = 784-788 | date = 2009-11 | doi = 10.1111/j.1755-3768.2008.01352.x | pmid = 18976309 }}</ref><ref>{{cite journal | first1 = Stefania M. | last1 = Mojon-Azzi | first2 = Daniel S. | last2 = Mojon | title = Opinion of Headhunters about the Ability of Strabismic Subjects to Obtain Employment | journal = Ophthalmologica | volume = 221 | number = 6 | date = 2007-10 | pages = 430-3 | doi = 10.1159/000107506 | pmid = 17947833 }}</ref>
 
ทั้งผู้ใหญ่และเด็กเห็นการเหล่ขวา (right heterotropia) ว่า น่ารังเกียจมากกว่าตาเหล่ไปทางด้านซ้าย และเด็ก ๆ จะเห็นว่าตาเหล่เข้าจะแย่กว่าตาเหล่ออก<ref>{{cite journal | last1 = Mojon-Azzi | first1 = Stefania Margherita | last2 = Kunz | first2 = Andrea | last3 = Mojon | first3 = Daniel Stephane | date = 2011-05 | title = The perception of strabismus by children and adults | journal = Graefe's Archive for Clinical and Experimental Ophthalmology | volume = 249 | issue = 5 | pages = 753-7 | doi = 10.1007/s00417-010-1555-y | pmid = 21063886 }}</ref>
เส้น 123 ⟶ 124:
นักวิจัยเสนอว่า คนไข้อาจได้ประโยชน์จากการสนับสนุนทางจิต-สังคม เช่นการฝึกทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล<ref>{{cite journal | first1 = Sue | last1 = Jackson | first2 = Kate | last2 = Gleeson | title = Living and coping with strabismus as an adult | journal = European Medical Journal Ophthalmology | date = 2013-08 | volume = 1 | pages = 15-22 | url = http://emjreviews.com/therapeutic-area/ophthalmology/living-coping-strabismus-adult/ }}</ref>
 
ยังไม่มีงานศึกษาว่า การแทรกแซงทางจิต-สังคมมีประโยชน์ต่อคนไข้ที่ผ่าตัดรักษาตาเหล่หรือไม่<ref name="MacKenzie">{{cite journal | last1 = MacKenzie | first1 = K | last2 = Hancox | first2 = J | last3 = McBain | first3 = H | last4 = Ezra | first4 = DG | last5 = Adams | first5 = G | last6 = Newman | first6 = S | title = Psychosocial interventions for improving quality of life outcomes in adults undergoing strabismus surgery | journal = Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 5 | pages = CD010092 | date = 2016 | pmid = 27171652 | doi = 10.1002/14651858.CD010092.pub4}}</ref>
 
== เหตุ ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน | date = 2017-05}}
ตาเหล่สามารถเห็นได้ในคนไข้[[กลุ่มอาการดาวน์]], Loeys-Dietz syndrome, [[อัมพาตสมองใหญ่]], และ Edwards syndrome
คนที่ครอบครัวมีประวัติก็จะมีโอกาสเสี่ยงสูงขึ้น{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2017-05}}
 
เหตุของตาเหล่ในผู้ใหญ่รวมทั้ง<ref>{{harvnb | Billson |2003 | loc = Restrictive causes of adult strabismus, pp. 50-53 }}</ref>
* การจำกัดการทำงานของกล้ามเนื้อตา (extraocular muscles)
** thyroid eye disease/Graves' ophthalmopathy ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อตาขยายตัวได้ถึง 6 เท่า ซึ่งขัดขวางการทำงานของตา
** blowout fractures ซึ่งเป็นการบาดเจ็บเนื่องด้วยวัตถุที่ไม่คม เช่น กำปั้น ข้อศอก หรือลูกบอล ซึ่งปกติจะรวมความบาดเจ็บที่พื้นและ/หรือผนังใกล้กลาง (medial) ของเบ้าตา ซึ่งอาจทำให้กล้ามเนื้อตาติดขัด
** ความบาดเจ็บของเส้นประสาททรอเคลียร์ (CN IV) ซึ่งจะทำให้[[เห็นภาพซ้อน]]เหนือและใต้แถบที่มองเห็นเป็นปกติ
** การผ่าตัดแก้[[จอตาลอก]]ที่มีผลจำกัดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อตา เช่น superior oblique
* เหตุที่เกิดจากกล้ามเนื้อ
** Myasthenia gravis เป็นโรค[[ภาวะภูมิต้านทานต้านตนเอง]]ที่มีผลทำลายตัวรับ acetylcholine ที่ neuromuscular endplate ของกล้ามเนื้อ
** Myositis ซึ่งทำให้กล้ามเนื้ออักเสบ
* เหตุที่เกิดจากเส้นประสาท
บรรทัด 149:
กล้ามเนื้อตา (extraocular muscle) เป็นตัวควบคุมตำแหน่งของตา
ดังนั้น ปัญหาที่กล้ามเนื้อหรือเส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อ สามารถทำให้ตาเหล่ได้
เส้นประสาทสมอง [[เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา|Oculomotor nerve (III)]], Trochlear nerve (IV), และ Abducens nerve (VI) เป็นเส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อตา
ปัญหาที่เส้น III จะทำให้ตาที่ได้รับผลเบี่ยงลงและออก และอาจจะมีผลต่อขนาดรูม่านตา
ส่วนปัญหาของเส้น IV ซึ่งอาจเป็นแต่กำเนิด อาจทำให้ตาเบี่ยงขึ้นและอาจจะเบนเข้าหน่อย ๆ
บรรทัด 155:
เช่น ความดันที่เพิ่มขึ้นใน[[กะโหลกศีรษะ]]อาจกดเส้นประสาทเมื่อมันวิ่งผ่านระหว่างส่วน clivus และ[[ก้านสมอง]]<ref name=vaughan />{{Page needed | date = 2017-05}}
นอกจากนั้น ถ้าแพทย์ไม่ระวังไปบิดคอของทารกเมื่อคลอดโดยใช้ปากคีม (forceps delivery) ก็จะทำให้เส้นประสาท VI เสียหายได้{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2015-03}}
แพทย์บางท่านยังเห็นหลักฐานด้วยว่า เหตุของตาเหล่อาจอยู่ที่สัญญาณประสาทที่ส่งไปยัง[[เปลือกสมองส่วนการเห็น]]<ref>{{cite journal | first = Lawrence | last = Tychsen | title = The Cause of Infantile Strabismus Lies Upstairs in the Cerebral Cortex, Not Downstairs in the Brainstem | journal = Archives of Ophthalmology | date = 2012-08 | volume = 130 | number = 8 | pages = 1060-1 | doi = 10.1001/archophthalmol.2012.1481 | subscription = yes | via = JAMA Network }}</ref><!-- {{Unreliable medical source | sure = y | reason = The article cited is an editorial. | date = 2017-05}} -->
ซึ่งทำให้ตาเหล่โดยไม่มีความเสียหายโดยตรงต่อเส้นประสาทสมองหรือกล้ามเนื้อตา
 
ตาเหล่ยังอาจทำให้[[ตามัว]] เพราะสมองไม่สนใจกระแสประสาทจากจอประสาทตาข้างหนึ่ง
อาการตามัวเป็นการที่ตาข้างเดียวหรือทั้งสองข้างไม่สามารถเห็นชัดเจนได้ตามปกติแม้จะไม่มีโครงสร้างอะไรที่ผิดปกติ
ในช่วง 7-8 ปีแรกแห่งชีวิต สมองจะเรียนรู้การตีความสัญญาณประสาทที่มาจากตาทั้งสองผ่านกระบวนการพัฒนาการการเห็น
แต่ความตาเหล่อาจขัดกระบวนการนี้ได้ถ้าเด็กตรึงตาข้างเดียวโดยไม่ตรึงตาหรือตรึงตาอีกข้างหนึ่งน้อย
เพื่อไม่ให้เห็นภาพซ้อน สัญญาณที่ส่งมาจากตาที่ผิดปกติสมองจะไม่รับ (Suppression) ซึ่งเมื่อเกิดตลอดที่ตาข้างเดียว ก็จะทำให้เกิดพัฒนาการทางการเห็นที่ผิดปกติ{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2017-05}}
 
บรรทัด 169:
 
Accommodative esotropia เป็นตาเหล่เข้าที่มีเหตุจากความหักเหของแสงที่คลาดเคลื่อน (refractive error) ที่ตาข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง
เนื่องเมื่อบุคคลเปลี่ยนการมองจากวัตถุไกล accommodation reflex มาที่เกิดเมื่อมองวัตถุที่ใกล้ ๆ โดยเป็น[[รีเฟล็กซ์]]ที่มีผลเป็นก็จะเกิด accommodation reflex ซึ่งเปลี่ยนการเบนตา (vergence) การเปลี่ยนรูปร่างของเลนส์ตา และเปลี่ยนขนาดของรูม่านตา เส้นประสาท CN III ก็จะส่งสัญญาณมากขึ้นไปยังกล้ามเนื้อ medial rectus muscle ซึ่งทำให้โดยการเบนตาจะเป็นแบบเบนเข้า
ถ้ารีเฟล็กซ์นี้จำมีมากกว่าปกติ เช่นบุคคลที่มีสายตายาว การเบนตาที่เพิ่มขึ้นจะทำให้ดูตาเหล่{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2017-05}}
 
== การวินิจฉัย ==
แพทย์อาจตรวจตาโดยให้ปิดตาหรือตรวจแบบ Hirschberg test ที่ใช้แสงสะท้อน เพื่อวินิจฉัยและวัดความตาเหล่และผลที่มีต่อสายตา
นอกจากนั้น การตรวจแบบ Retinal birefringence scanning ยังสามารถใช้ตรวจคัดตาเหล่ในเด็กเล็ก ๆ
โดยจะแพทย์จะวินิจฉัยแยกแยะความตาเหล่ออกเป็นแบบต่าง ๆ
 
=== ภาวะแฝง ===
บรรทัด 193:
Accommodative esotropia ซึ่งเป็นการเบนเข้าของตาเกินเนื่องจาก accommodation reflex จะเกิดโดยมากในวัยเด็กต้น ๆ
ส่วนตาเหล่ที่เกิดทีหลัง จะเกิดหลังจากการมองเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาได้พัฒนาเต็มที่แล้ว
ในผู้ใหญ่ที่ตอนแรกมองเป็นปกติ การเกิดตาเหล่ปกติมักจะทำให้[[เห็นภาพซ้อน]]
โรคที่ทำให้การเห็นเสียหายก็อาจเป็นเหตุให้ตาเหล่ด้วย<ref name=medlineplus>{{cite web | title = Strabismus | website = MedlinePlus Encyclopedia | publisher = US National Library of Medicine, National Institutes of Health | url = http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/001004.htm | accessdate = 2013-04-05 }}</ref>
แต่และก็อาจเกิดจากความบาดเจ็บต่อตาที่เหล่
 
ส่วน Sensory strabismus เป็นอาการตาเหล่เนื่องจากเสียหรือพิการทางการเห็น แล้วทำให้ตาเหล่ในไปทางด้านข้าง ด้านตั้ง แบบบิด (torsional) หรือแบบผสม โดยตาที่เห็นแย่กว่าจะค่อย ๆ เหล่ไปในระยะยาว
ถึงแม้มักจะเป็นการเหล่ออกทางด้านข้างมากที่สุด
แต่การเหล่ก็มักจะขึ้นอยู่กับอายุที่เกิดความเสียหายด้วย
คนไข้ที่พิการทางสายตาตั้งแต่กำเนิดมีโอกาสตาเหล่เข้า (esotropia) มากที่สุด
เทียบกับคนไข้ที่การเห็นพิการภายะหลังทีหลังมักจะตาเหล่ออก (exotropia)<ref name="Rosenbaum et al.">
{{cite book | first1 = Arthur L. | last1 = Rosenbaum | first2 = Alvina Pauline | last2 = Santiago | title = Clinical Strabismus Management: Principles and Surgical Techniques | url = https://books.google.com/books?id=6jqOihYJvCoC&pg=PA194 | year = 1999 | publisher = David Hunter | isbn = 978-0-7216-7673-9 | page = 193-194 | accessdate = 2016-06-21 | via = Google Books }}</ref><ref>
{{cite journal | first1 = S.A. | last1 = Havertape | first2 = O.A. | last2 = Cruz | first3 = F.C. | last3 = Chu | title = Sensory strabismus—eso or exo? | journal = Journal of Pediatric Ophthalmology and Strabismus | date = 2001-11 | volume = 38 | number = 6 | pages = 327-30 | pmid = 11759769 }}</ref><ref>
{{cite journal | first1 = Susan A. | last1 = Havertape | first2 = Oscar A. | last2 = Cruz | title = Sensory Strabismus: When Does it Happen and Which Way Do They Turn? | journal = American Orthopic Journal | date = 2001-01 | volume = 51 | number = 1 | pages = 36-38 | doi = 10.3368/aoj.51.1.36 }}</ref>
ในแบบสุดโต่งอย่างหนึ่ง ตาที่บอดสิ้นเชิงข้างหนึ่งจะทำให้ตาข้างนั้นอยู่ในตำแหน่งพักตลอด<ref>{{cite encyclopedia | first1 = Daniel M. | last1 = Albert | first2 = Edward S. | last2 = Perkins | first3 = David M. | last3 = Gamm | date = 2017-03-24 | title = Eye disease | url = https://www.britannica.com/science/eye-disease | at = [https://www.britannica.com/science/eye-disease#toc64990 Strabismus (squint)] | encyclopedia = Encyclopædia Britannica }}</ref>
 
แม้จะรู้เหตุที่ทำให้ตาเหล่หลายอย่างแล้ว รวมทั้งการบาดเจ็บที่ตาซึ่งเสียหายเหล่ แต่ก็ยังมีกรณีที่ไม่รู้เหตุ
โดยเฉพาะที่เป็นตั้งแต่วัยเด็กต้น ๆ<ref>{{cite book | first1 = Melvin L. | last1 = Rubin | first2 = Lawrence A. | last2 = Winograd | section-url = http://www.triadpublishing.com/eyecarereports/strabismus-book.shtml | section = Crossed Eyes (Strabismus) : Did you really understand what your eye doctor told you? | title = Taking Care of Your Eyes: A Collection of the Patient Education Handouts Used by America's Leading Eye Doctors | date = 2003 | publisher = Triad Communications | isbn = 0-937404-61-6 }}</ref>
 
[[งานศึกษาตามแผน]]ใน[[สหรัฐอเมริกา]]พบว่า [[ความชุก]]ของอาการตาเหล่ในผู้ใหญ่จะเพิ่มขึ้นตามอายุ โดยเฉพาะหลังจากอายุ 60 ปีโดยจะถึงจุดสูงสุดในช่วงทศวรรษที่ 8 และความเสี่ยงตาเหล่ตลอดชีวิตในวัยผู้ใหญ่อยู่ที่ 4%<ref>{{cite journal | first1 = Jennifer M. | last1 = Martinez-Thompson | first2 = Nancy N. | last2 = Diehl | first3 = Jonathan M. | last3 = Holmes | first4 = Brian G. | last4 = Mohney | url = http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0161642013010063 | subscription = yes | via = ScienceDirect | title = Incidence, Types, and Lifetime Risk of Adult-Onset Strabismus | journal = Ophthalmology | volume = 121 | issue = 4 | date = 2014-04 | pages = 877-82 | doi = 10.1016/j.ophtha.2013.10.030 | pmid = 24321142 | pmc = 4321874 }}</ref>
 
=== ข้าง ===
ตาเหล่สามารถจัดว่าเป็นข้างเดียว (unilateral) ถ้ามีตาข้างเดียวเท่านั้นที่เหล่ หรือเป็นสลับข้าง (alternating) ถ้าตาทั้งสองข้างเหล่
การสลับข้างอางอาจเกิดเองโดยที่คนไข้ก็ไม่รู้ตัว
หรืออาจสลับเนื่องจากการตรวจตา<ref name=meei>{{cite book | first1 = Neil J. | last1 = Friedman | first2 = Peter K. | last2 = Kaiser | first3 = Roberto | last3 = Pineda | title = The Massachusetts Eye and Ear Infirmary illustrated manual of ophthalmology | year = 2009 | publisher = Saunders/Elsevier | isbn = 978-1-4377-0908-7 | edition = 3rd }}</ref>{{Page needed | date = 2017-05}}
ตาเหล่ข้างเดียวมักจะมาจากการบาดเจ็บต่อตาที่มีปัญหา<ref name="Rosenbaum et al." />
บรรทัด 225:
 
การเหล่ขึ้นลงก็สามารถแบ่งเป็นสองแบบได้เหมือนกัน
คำอุปสรรค ''Hyper'' จะใช้กับตาที่เหล่ขึ้นโดยเทียบกับตาอีกข้าง ในขณะที่ ''hypo'' จะใช้กับตาที่เหล่ลง
ส่วนคำว่า ''Cyclo'' หมายถึงตาเหล่บิด คือตาที่เหล่โดยหมุนรอบ ๆ แกนหน้าหลัง ซึ่งมีน้อยมาก{{clarify | date = 2017-10 | reason = Are these prefixes? To what are they attached - strabismus? tropia? both?}}
 
บรรทัด 264:
Pseudostrabismus เป็นอาการตาเหล่เทียม
ซึ่งปกติเกิดขึ้นในทารกหรือเด็กหัดเดินที่ดั้งจมูกกว้างและแบน แล้วทำให้ดูเหมือนตาเหล่เข้า (esotropia) เนื่องจากเห็นตาขาวทางด้านจมูกน้อยกว่าปกติ
แต่เมื่ออายุมากขึ้น ดั้งจมูกก็จะแคบลงและหนังคลุมหัวตาก็จะลดลงแล้วทำให้เห็นตาขาวเป็นปกติ
 
มะเร็งจอตา (Retinoblastoma) ก็อาจเป็นเหตุให้ตาสะท้อนแสงผิดปกติได้ด้วย
บรรทัด 271:
== การบริหาร ==
{{บทความหลัก |การบริหารตาเหล่}}
เหมือนกับโรคเกี่ยวกับการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาอื่น ๆ จุดมุ่งหมายหลักของการรักษาก็เพื่อให้[[เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาที่]]อย่างสบายตาและเป็นปกติ ในทุก ๆ ระยะและทุก ๆ มุมมอง<ref>{{cite journal | author = Eskridge, JB | title = Persistent diplopia associated with strabismus surgery | journal = Optom Vis Sci | volume = 70 | issue = 10 | pages = 849-53 | date = 1993-10 | pmid = 8247489 | doi = 10.1097/00006324-199310000-00013 }}</ref>
 
ตาเหล่ในประเทศตะวันตกมักจะรักษาแบบผสมโดยใช้[[แว่นตา]] การบำบัดการเห็น (vision therapy) และการผ่าตัด ขึ้นอยู่กับสาเหตุ
เทียบกับ[[ตามัว]]/ตาขี้เกียจ (amblyopia) ซึ่งถ้าเล็กน้อยและตรวจพบตั้งแต่เนิ่น ๆ ก็จะสามารถแก้ได้โดยใช้ผ้าปิดตาอีกข้างหนึ่งหรือการบำบัดการเห็น แต่การใช้ผ้าปิดตามีโอกาสเปลี่ยนมุมตาเหล่ได้น้อย
 
=== แว่นตา ===
บรรทัด 283:
ในกรณีเด็กตาเหล่จำนวนหนึ่งที่มี anisometropic amblyopia แพทย์จะลองใช้เลนส์หักเหแสงระดับต่าง ๆ กันก่อนผ่าตัดแก้ตาเหล่<ref>{{cite journal | author1 = William F. Astle | author2 = Jamalia Rahmat | author3 = April D. Ingram | author4 = Peter T. Huang | title = Laser-assisted subepithelial keratectomy for anisometropic amblyopia in children: Outcomes at 1 year | journal = Journal of Cataract & Refractive Surgery | volume = 33 | issue = 12 | date = 2007-12 | pages = 2028-2034 | doi = 10.1016/j.jcrs.2007.07.024 }}</ref>
 
การรักษาตาเหล่ตั้งแต่เนิ่น ๆ ในวัยทารกอาจลดโอกาสทตามัว[[ตามัว]] (amblyopia) หรือมีปัญหา[[การรู้ความใกล้ไกล]]
แต่งานทบทวน[[การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม]]สรุปว่า การใช้แว่นสายตาเพื่อป้องกันตาเหล่ไม่มีหลักฐานสนับสนุน<ref name="Jones">{{cite journal | authors = Jones-Jordan, L; Wang, X; Scherer, RW; Mutti, DO | title = Topical Spectacle correction versus no spectacles for prevention of strabismus in hyperopic children | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = 8 | issue = 8 | pages = CD007738 | date = 2014 | pmid = 25133974 | pmc = 4259577 | doi = 10.1002/14651858.CD007738.pub2 }}</ref>
 
บรรทัด 298:
สำหรับเด็ก ปัจจุบันยังไม่รู้ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ ระหว่างการผ่าตัดแก้ตาเหล่ก่อนหรือหลังการรักษาตามัว<ref name="Korah">{{cite journal | authors = Korah, S; Philip, S; Jasper, S; Antonio-Santos, A; Braganza, A | title = Strabismus surgery before versus after completion of amblyopia therapy in children | journal = Cochrane Database Syst Rev | volume = 10 | issue = 10 | pages = CD009272 | date = 2014 | pmid = 25315969 | pmc = 4438561 | doi = 10.1002/14651858.CD009272.pub2 }}</ref>
 
การผ่าตัดแก้ตาเหล่จะพยายามปรับตาให้ตรงโดยทำให้สั้นลดความยาว เพิ่มความยาว หรือเปลี่ยนตำแหน่งของกล้ามเนื้อตาหนึ่งมัดหนึ่งหรือมากกว่านั้น
ซึ่งสามารถทำได้ภายใน ชม. หนึ่ง โดยใช้เวลาฟื้นตัว 1-8 อาทิตย์
ไหมที่แก้ปรับได้อาจใช้เพื่อช่วยให้ปรับตาให้ตรงยิ่งขึ้นหลังการผ่าตัดในระยะต้น ๆ<ref name="leffler">{{Cite journal | last = Parikh | first = RK | last2 = Leffler | first2 = CT | title = Loop suture technique for optional adjustment in strabismus surgery | journal = Middle East African Journal of Ophthalmology | volume = 20 | issue = 3 | date = 2013-07 | url = http://www.meajo.org/article.asp?issn=0974-9233;year=2013;volume=20;issue=3;spage=225;epage=228;aulast=Parikh | doi = 10.4103/0974-9233.114797 | pages = 225-8 | pmid = 24014986 | pmc = 3757632 }}</ref>
บรรทัด 304:
การมองเห็นเป็นสองภาพอาจเกิดแม้น้อยมาก โดยเฉพาะทันทีหลังผ่าตัด{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2014-01}}
และการเสียการเห็นก็มีน้อยมาก
แว่นตาจะมีผลต่อตำแหน่งตาเพราะเปลี่ยนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นรีเฟล็กซ์เนื่องจากกับการโฟกัสสายตา
ส่วนปริซึมจะเปลี่ยนรูปแบบที่แสงและภาพ จะมากระทบกับจอตา ซึ่งโดยเป็นการเลียนการเปลี่ยนตำแหน่งของตา<ref name=medlineplus/>
 
=== ยา ===
บรรทัด 316:
{{cite journal | last1 = de Alba Campomanes | first1 = AG | last2 = Binenbaum | first2 = G | last3 = Campomanes Eguiarte | first3 = G | title = Comparison of botulinum toxin with surgery as primary treatment for infantile esotropia | journal = Journal of American Association for Pediatric Ophthalmology and Strabismus | date = 2010-04 | volume = 14 | number = 2 | pages = 111-116 | doi = 10.1016/j.jaapos.2009.12.162 | pmid = 20451851 }}</ref><ref>
{{cite journal | last1 = Gursoy | first1 = Huseyin | last2 = Basmak | first2 = Hikmet | last3 = Sahin | first3 = Afsun | last4 = Yildirim | first4 = Nilgun | last5 = Aydin | first5 = Yasemin | last6 = Colak | first6 = Ertugrul | title = Long-term follow-up of bilateral botulinum toxin injections versus bilateral recessions of the medial rectus muscles for treatment of infantile esotropia | journal = Journal of American Association for Pediatric Ophthalmology and Strabismus | volume = 16 | issue = 3 | year = 2012 | pages = 269-273 | issn = 1091-8531 | doi = 10.1016/j.jaapos.2012.01.010 | pmid = 22681945 }}</ref>
แพทย์จะฉีดพิษท็อกซินเข้าในกล้ามเนื้อตามัดที่แข็งแรงกว่า ซึ่งทำให้อัมพาตชั่วคราว
ซึ่งและอาจจะต้องฉีดซ้ำ 3-4 เดือนหลังจากที่ความอัมพาตหายไป
ผลข้างเคียงสามัญรวมทั้ง[[การเห็นภาพซ้อน]] [[หนังตาตก]] แก้เกิน และไร้ผล
แต่ผลข้างเคียงปกติจะหมดไปภายใน 3-4 เดือน
การรักษานี้รายงานว่า ได้ผลดีเท่ากับการผ่าตัดสำหรับคนไข้ที่สามารถเห็นภาพเดียวด้วยสองตา และได้ผลดีน้อยกว่าสำหรับคนไข้ที่เห็นภาพซ้อนด้วยสองตา<ref name="Rowe">{{cite journal | last1 = Rowe | first1 = FJ | last2 = Noonan | first2 = CP | title = Botulinum toxin for the treatment of strabismus | journal = Cochrane Database Syst Rev | issue = 3 | pages = CD006499 | date = 2017 | pmid = 28253424 | doi = 10.1002/14651858.CD006499.pub4}}</ref>
 
== พยากรณ์โรค ==
ถ้าตาเหล่ตั้งแต่กำเนิดหรือเกิดในช่วงวัยทารก อาจจะเป็นเหตุให้[[ตามัว]] (amblyopia) ที่สมองจะไม่สนใจข้อมูลสายตาจากตาที่มีปัญหา
แม้จะบำบัดรักษาตามัว การไม่รู้ใกล้ไกล (stereoblindness) ก็ยังอาจเกิดได้
ตาเหล่ยังทำให้เกิดปัญหาภาพพจน์ส่วนบุคคล
งานศึกษาหนึ่งแสดงว่า คนไข้ผู้ใหญ่ 85% "รายงานว่ามีปัญหาในที่ทำงาน ในสถาบันการศึกษา และการกีฬาเพราะตาที่เหล่ของตน"
คนไข้งานศึกษาเดียวกัน 70% รายงานว่า ตาเหล่ "มีผลลบต่อภาพพจน์ของตนเอง"<ref>{{cite web | title = Treatment for "lazy eye" is more than cosmetic | website = Scribe/Alum Notes | publisher = Wayne State University | date = Spring 2001 | url = http://www.med.wayne.edu/Scribe/scribe00-01/scribesp01/baker-strabismus.htm | archive-date = 2015-06-26 | archive-url = https://web.archive.org/web/20150626120545/http://www.med.wayne.edu/Scribe/scribe00-01/scribesp01/baker-strabismus.htm | deadurl = yes }}</ref>{{Unreliable medical source | date = 2017-05 | sure = y}}
บ่อยครั้ง คนไข้ต้องผ่านการผ่าตัดเป็นครั้งที่สองเพื่อทำให้ทำตาให้ตรง<ref name=vaughan />{{Page needed | date = 2017-05}}
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตาเหล่"