ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมิงรุ่ย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
}}
 
'''หมิงรุ่ย''' ({{zh|c=明瑞}}, {{lang-my|မင်းယွီ}}) เขาคือนักการทหารที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งของราชวงค์ชิงในยุคนั้น โดยตลอดเวลาที่เขาทำสงคราม หมิงรุ่ยมักจะมองหาจุดอ่อนในกองทัพของศัตรูก่อนเสมอ เมื่อเจอแล้วก็จะทำการโจมตีอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้ตลอดเวลาที่เขาเป็นผู้บัญชาการทหารนั้น แทบไม่เคยพ่ายแพ้แก่ผู้ใดเลย ไม่ว่าจะมองโกล หรือพวกอุยเกอร์ในซินเจียง หมิงรุ่ยนับได้ว่าเป็นขุนศึกคู่พระทัยคนหนึ่งของ[[จักรพรรดิเฉียนหลง]] ซึ่งพระองค์โปรดปรานเป็นอย่างยิ่ง ทั้งเรื่องความสามารถและอายุที่ยังไม่มากนัก นับได้ว่าเป็นตัวเต็งเสาหลักอีกคนหนึ่งของราชวงค์ชิง แต่จุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึงเมื่อครั้งจักรพรรดิเฉียนหลงตัดสินใจ ทำสงครามกับ[[พระเจ้ามังระ]] ซึ่งก็พ่ายแพ้ถึงสองครั้ง พระองค์จึงตัดสินใจส่งหมิงรุ่ย ขุนพลเอกของราชวงค์ชิงลงมาเพื่อหวังจะปราบปรามอาณาจักรทางใต้ให้ราบคาบ โดยได้ส่งกองทหารที่ดีที่สุดของราชวงค์ชิงในยุคนั้นอย่างกองทัพแปดกองธง 50000 นาย ลงมาทำศึก แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นดังนั้นเมื่อหมิงรุ่ยต้องมาพบกับ นักการทหารที่เก่งกาจที่สุดคนหนึ่งของพม่าอย่าง[[อะแซหวุ่นกี้]] และ[[บาลามินดิน]]
 
===การศึกกับอะแซหวุ่นกี้===
บรรทัด 22:
* ส่วนทัพหลักของหมิงรุ่ย30000นาย ยกมาเผชิญหน้ากับอะแซหวุ่นกี้ซึ่งคุมทหาร20000นาย การรบเป็นไปอย่างรุนแรงทั้ง 2 ฝ่ายต่างใช้กลยุทธ์รบพุ่งใส่กัน สุดท้ายหมิงรุ่ยสามารถขับไล่อะแซหวุ่นกี้จนถอยร่นออกไปได้ จากนั้นหมิงรุ่ยจึงค่อยๆพิชิตไปทีละเมืองอย่างรอบคอบเพื่อรักษาเส้นทางเสบียงและเส้นทางกองหนุนเอาไว้ โดยตลอดทางหมิงรุ่ยไม่พ่ายแพ้แก่ผู้ใดเลยจนลึกเข้ามาถึงชานเมืองอังวะห่างออกไปไม่ถึง 50 กิโลเมตร ในขณะนั้น[[พระเจ้ามังระ]] ยกกองทัพออกไปรับศึกด้วยพระองค์เอง แต่ยังไม่ทันได้รบพุ่งถึงขั้นแตกหักข่าวก็แจ้งมาถึงหมิงรุ่ยว่า อะแซหวุ่นกี้ได้นำทัพที่ซุ่มเอาไว้ย้อนกลับไปตีเมืองต่างๆคืนได้หมดแล้วและกำลังใกล้บุกมาถึงที่นี่แล้ว ส่วนกองทัพอีกเส้นหนึ่งก็พ่ายแพ้ไม่สามารถตีเมืองกองตนได้และถอนกำลังกลับต้าชิงไปแล้ว
 
*ในตอนนี้ทัพรองแตกพ่าย ทัพหนุนถูกทำลาย เส้นทางเสบียงถูกตัดขาด หมิงรุ่ยรู้ถึงจุดจบในการศึกครั้งนี้ทันที แต่เขาก็เลือกที่จะตายอย่างสมศักดิ์ศรีในฐานะนักรบ ดีกว่ายอมถูกจับในฐานะเชลย รวมถึงกองทัพแปดกองธงที่พร้อมจะติดตามเขา หมิงรุ่ยตัดสินใจทำศึกสุดท้ายแต่แล้วกองทัพของ[[พระเจ้ามังระ]]และ[[อะแซหวุ่นกี้]] ก็สามารถพิชิตกองทัพของหมิงรุ่ยลงได้ในยุทธการณ์เมเมียว ทำให้หมิงรุ่ยเลือกจะจบชีวิตตนผูกคอตายอยู่ในแผ่นดินอังวะ ดีกว่ายอมถูกจับเป็น