ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กติกาสัญญาไตรภาคี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 31:
 
== ข้อความ ==
{{quotation|
{{quotation|ข้อ 1 ญี่ปุ่นยอมรับและเคารพซึ่งประมุขภาพของเยอรมนีและอิตาลีในการจัดระเบียบทวีปยุโรป
{{c|{{fs|110%|กติกาสัญญาสามอำนาจระหว่างเยอรมนี, อิตาลี และญี่ปุ่น}}}}
:รัฐบาลแห่งเยอรมนี, อิตาลี และญี่ปุ่น ได้คำนึงถึงสภาวะสันติสุขในอดีตที่ทุกชาติในโลกต่างได้เคยหยิบยื่นให้แก่กันตามแต่สมควรแล้ว จึงตัดสินใจที่จะเกื้อกูลและร่วมมือกับอีกฝ่ายในข้อเกี่ยวเนื่องกับความมุมานะของแต่ละฝ่ายในมหาเอเชียบูรพาและดินแดนในยุโรปตามลำดับ อันเป็นความมุ่งหมายหลักที่จะจัดตั้งและรักษาไว้ซึ่งระเบียบใหม่อันหมายมั่นว่าจะช่วยส่งเสริมความเจริญสถาพรตลอดจนสวัสดิภาพประชาชนของกันและกัน
 
:ยิ่งกว่านั้น รัฐบาลทั้งสามยังมีความปรารถนาที่จะขยายความร่วมมือไปสู่ประชาชาติในส่วนอื่นของโลก ที่อาจตกลงปลงใจร่วมพากเพียรไปบนทางคู่ขนานอันมีจุดหมายเดียวกัน เพื่อที่ว่าปณิธานอันสูงสุดคือสันติภาพโลกจะได้กลายเป็นจริง
ข้อ 2 เยอรมนีและอิตาลียอมรับและเคารพซึ่งประมุขภาพของญี่ปุ่นในการจัดระเบียบทวีปมหาเอเชียบูรพา
 
:ฉนั้น รัฐบาลแห่งเยอรมนี, อิตาลี และญี่ปุ่น จึงได้ตกลงกันดังต่อไปนี้:
ข้อ 3 ญี่ปุ่น, เยอรมนี และ อิตาลี ตกลงที่จะร่วมมือตามความประสงค์ดังข้อความที่กล่าวมา นอกจากนี้ ยังให้สัญญาที่จะให้ความสนับสนุนแก่อีกฝ่ายทั้งในด้านการเมือง, เศรษฐกิจ และการทหาร อันหมายถึง กรณีที่ชาติร่วมสัญญาถูกโจมตีด้วยชาติอื่นที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามในยุโรป ณ ปัจจุบัน หรือกรณีพิพาทญี่ปุ่น-จีน
 
{{quotation|:ข้อ 1 ญี่ปุ่นยอมรับและเคารพซึ่งประมุขภาพของเยอรมนีและอิตาลีในการจัดระเบียบทวีปยุโรป
ข้อ 4 ด้วยทัศนะเพื่อให้สัญญาปัจจุบันบรรลุผล คณะกรรมาธิการร่วมซึ่งจะถูกแต่งตั้งโดยผู้แทนของรัฐบาลญี่ปุ่น, เยอรมนี และ อิตาลี จะเข้าประชุมหารือกันโดยไม่ชักช้า
 
:ข้อ 2 เยอรมนีและอิตาลียอมรับและเคารพซึ่งประมุขภาพของญี่ปุ่นในการจัดระเบียบทวีปมหาเอเชียบูรพา
ข้อ 5 ญี่ปุ่น, เยอรมนี และ อิตาลี ให้การยืนยันว่าความตกลงข้างต้นจะมีผลบังคับใช้โดยไม่ขึ้นกับสถานะทางการเมืองที่ดำรงอยู่ ณ ปัจจุบัน ระหว่างแต่ละชาติร่วมสัญญากับโซเวียตรัสเซีย
 
:ข้อ 3 ญี่ปุ่น, เยอรมนี และ อิตาลี ตกลงที่จะร่วมมือตามความประสงค์ดังข้อความที่กล่าวมา นอกจากนี้ ยังให้สัญญาที่จะให้ความสนับสนุนแก่อีกฝ่ายทั้งในด้านการเมือง, เศรษฐกิจ และการทหาร อันหมายถึง กรณีที่ชาติร่วมสัญญาถูกโจมตีด้วยชาติอื่นที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามในยุโรป ณ ปัจจุบัน หรือกรณีพิพาทญี่ปุ่น-จีน
ข้อ 6 สัญญานี้จะสมบูรณ์ในทันทีต่อเมื่อมีการลงนามและจะบังคับใช้เป็นเวลาสิบปีนับจากวันที่มีผลบังคับใช้ โดยในเวลาอันสมควรก่อนการหมดอายุตามเวลาที่กล่าวมา ด้วยคำร้องขอของสมาชิกหนึ่งใด ภาคีร่วมสัญญาจะเข้าสู่การเจรจาต่อรองเพื่อต่ออายุ
 
:ข้อ 4 ด้วยทัศนะเพื่อให้สัญญาปัจจุบันบรรลุผล คณะกรรมาธิการร่วมซึ่งจะถูกแต่งตั้งโดยผู้แทนของรัฐบาลญี่ปุ่น, เยอรมนี และ อิตาลี จะเข้าประชุมหารือกันโดยไม่ชักช้า
ด้วยสัตย์ว่า ผู้ลงนามด้านท้ายนี้ต่างได้รับมอบอำนาจจากรัฐบาลของตน ได้ลงนามในหนังสือสัญญานี้และประทับตรานี้ประกอบลายมือชื่อ
 
:ข้อ 5 ญี่ปุ่น, เยอรมนี และ อิตาลี ให้การยืนยันว่าความตกลงข้างต้นจะมีผลบังคับใช้โดยไม่ขึ้นกับสถานะทางการเมืองที่ดำรงอยู่ ณ ปัจจุบัน ระหว่างแต่ละชาติร่วมสัญญากับโซเวียตรัสเซีย
{{small|ทำขึ้นระหว่างภาคีสามฝ่ายที่เบอร์ลิน วันที่ 27 ของเดือนกันยายน ค.ศ. 1940 เป็นปีที่ 19 ของยุคฟาสซิสต์ สมกาลกับวันที่ 27 ของเดือนที่ 9 ของปีโชวะ (รัชกาล[[จักรพรรดิฮิโระฮิโตะ]])
 
}}}}
:ข้อ 6 สัญญานี้จะสมบูรณ์ในทันทีต่อเมื่อมีการลงนามและจะบังคับใช้เป็นเวลาสิบปีนับจากวันที่มีผลบังคับใช้ โดยในเวลาอันสมควรก่อนการหมดอายุตามเวลาที่กล่าวมา ด้วยคำร้องขอของสมาชิกหนึ่งใด ภาคีร่วมสัญญาจะเข้าสู่การเจรจาต่อรองเพื่อต่ออายุ
 
:ด้วยสัตย์ว่า ผู้ลงนามด้านท้ายนี้ต่างได้รับมอบอำนาจจากรัฐบาลของตน ได้ลงนามในหนังสือสัญญานี้และประทับตรานี้ประกอบลายมือชื่อ
 
{{smallc|ทำขึ้นระหว่างภาคีสามฝ่ายที่เบอร์ลิน วันที่ 27 ของเดือนกันยายน ค.ศ. 1940 เป็นปีที่ 19 ของยุคฟาสซิสต์ สมกาลกับวันที่ 27 ของเดือนที่ 9 ของปีโชวะ (รัชกาล[[จักรพรรดิฮิโระฮิโตะยุคโชวะ|รัชศกปีโชวะ]])}}
}}}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==