ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 134:
จากคำพูดนี้ แสดงให้เห็นว่าพระปรีชากลการทราบสาเหตของการประหารเป็นอย่างดีว่า เกิดจากการแต่งงานกับแฟนนี่น็อกซ์ การต้องรับโทษทัณฑ์ไม่ได้เกิดจากการแต่งงานกับชาวต่างประเทศโดยไม่ได้ขออนุญาติเท่านั้น แต่ตัวท่านทราบดีว่าได้ทำให้ฝ่ายสมเด็จเจ้าพระยาฯ ไม่อาจเกี่ยวดองกับอังกฤษผ่านการแต่งงานได้อีกต่อไป ดังนั้น จึงทำให้สมเด็จเจ้าพระยาฯ ซึ่งมีอำนาจสูงมากไม่พอใจ ขณะที่รัชกาลที่ 5 ที่ยังทรงพระขมน์ชีพไม่มากนัก ไม่อาจคัดค้านได้ พระปรีชากลการจึงถูกประหาร
 
หลังจากนั้น ส่วนนายน็อกซ์ถูกเรียกตัวกลับอังกฤษ และได้พาครอบครัวเดินทางออกจากสยาม เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน แต่แฟนนี่ได้พาบุตรชายที่เกิดจากพระปรีชากลการ คือ สแปนเชอร์ หรือ จำรัส และบุตรชายหญิงของพระปรีชากลการ ซึ่งเกิดจากคุณลม้ายภรรยาที่เสียชีวิตไปแล้วคือ ตระกูลและอรุณ เดินทางกลับไปอังกฤษด้วย เมื่อเวลาผ่านไปจนคุณเมื่อตระกูลและคุณอรุณ เติบโตขึ้น จึงได้เดินทางกลับสู่สยาม เมื่ออายุ 17 ปี ทั้งสองท่านจึงมีความรู้ด้านภาษาทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสเป็นเลิศ และเข้ารับราชการเป็นล่ามในพระราชสำนักฝ่ายใน ส่วนจำรัสเสียชีวิตในวัยหนุ่มอายุเพียง 21 ปี
 
หลังจากนั้น นายน็อกซ์ถูกเรียกตัวกลับอังกฤษ และได้พาครอบครัวเดินทางออกจากสยาม เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน แต่แฟนนี่ได้พาบุตรชายที่เกิดจากพระปรีชากลการ คือ สแปนเชอร์ หรือ จำรัส และบุตรชายหญิงของพระปรีชากลการ ซึ่งเกิดจากคุณลม้ายภรรยาที่เสียชีวิตไปแล้วคือ ตระกูลและอรุณ เดินทางกลับไปอังกฤษด้วย เมื่อเวลาผ่านไปจนคุณตระกูลและคุณอรุณเติบโตขึ้น จึงได้เดินทางกลับสู่สยาม เมื่ออายุ 17 ปี ทั้งสองท่านจึงมีความรู้ด้านภาษาทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสเป็นเลิศ และเข้ารับราชการเป็นล่ามในพระราชสำนักฝ่ายใน ส่วนจำรัสเสียชีวิตในวัยหนุ่มอายุเพียง 21 ปี
 
หลังจากพระปรีชากลการเสียชีวิตลง ประชาชนชาวจังหวัด[[จังหวัดปราจีนบุรี]]ได้พร้อมใจกันสร้างศาลเจ้าพ่อสำอางเพื่อแสดงความรำลึกถึงคุณงามความดีของท่าน ซึ่งตั้งอยู่ด้านข้างของอุโบสถในวัดหลวงปรีชากูล โดยเป็นวัดที่พระปรีชากลการได้สร้างขึ้น <ref>รองศาสตราจารย์ ดร. ปราชญา กล้าผจัญ. '''เกร็ดฝอยพงศาวดารประวัติศาสตร์ไทย/โลก''' -- กรุงเทพฯ : ข้าวฝ่าง, 2546.</ref> <ref>สำนักเรียนธรรมศึกษา วัดหลวงปรีชากูล. (2560). ''ประวัติวัดหลวงปรีชากูล.'' https://sites.google.com/site/watluangpreechakul/home</ref>โดยในปัจจุบัน ศาลใหม่ได้ตั้งในบริเวณด้านหน้าของสถานีตำรวจภูธรจังหวัดปราจีนบุรี ส่วนศาลเดิมได้ขำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา