ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
 
หลังจากได้ประสบกับความมหัศจรรย์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในปี [[ค.ศ. 1955]] เยอรมนีตะวันตกกลายเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจมากที่สุดในยุโรป ภายใต้การนำของ [[คอนราด อเดเนาร์]] นายกรัฐมนตรี และเยอรมนีตะวันตกก็สร้างความสัมพันธ์อันแข็งแกร่งกับ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] [[สหรัฐ]] และ[[ประเทศอิสราเอล|อิสราเอล]] นอกจากนี้เยอรมนีตะวันตกยังได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ[[องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ]] (นาโต) และ[[ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป]] (ภายหลังได้กลายเป็น[[สหภาพยุโรป]]) ขณะที่เศรษฐกิจของเยอรมนีตะวันออกหยุดนิ่ง เพราะส่วนใหญ่จัดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของ[[สหภาพโซเวียต]] โดยมีสายลับคอยควบคุมอย่างแน่นหนาบริเวณ[[กำแพงเบอร์ลิน]]ที่สร้างขึ้นในปี [[ค.ศ. 1961]] ไม่ให้[[ผู้ลี้ภัย]]เดินทางไปยังเยอรมนีตะวันตก เยอรมนีกลับมารวมชาติอีกครั้งในปี [[ค.ศ. 1990]] จากการยุบ[[พรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี]]ที่ปกครองเยอรมนีตะวันออก
 
== ส่วนของ[[นาซีเยอรมนี]] ==
=== 4 ดินแดนที่ถูกยึดครอง ===
ใน[[การประชุมพ็อทซ์ดัม]] ในวันที่ [[17 กรกฎาคม]] - [[2 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1945]] หลังจากเยอรมนีประกาศยอมแพ้ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]อย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ [[8 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1945]]<ref>{{cite book | last = Beevor | first = Antony | title = Berlin: The Downfall 1945 | origyear = 2002 | year = 2003 | publisher = Penguin Books | isbn =0-14-028696-9 | pages = 402 ff }}</ref> [[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ได้แบ่งดินแดน[[นาซีเยอรมนี]]ออกเป็น 4 ส่วน มอบให้ 4 ประเทศไปปกครอง ได้แก่[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] ปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ [[สหราชอาณาจักร]]ปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ [[สหรัฐ]]ปกครองดินแดนตอนใต้ และ[[สหภาพโซเวียต]] ปกครองภาคตะวันออก พวกเขามุ่งหน้าไปทางตะวันออกโดยใช้[[เส้นออเดอร์-นีสเซ|เส้นพรมแดนออเดอร์-นีสเซ]] ที่[[พ็อทซ์ดัม]] 4 ดินแดนเหล่านี้เรียกอีกอย่างคือ "[[เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร]]" และประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรทั้ง 4 ประเทศใช้สิทธิจาก[[อำนาจอธิปไตย]]ที่พวกเขามีอยู่ในขณะนั้นอ้างว่าเยอรมนียอมรับในหลักการส่งดินแดน[[นาซีเยอรมนี]]บางส่วนรวมทั้งดินแดนทางตะวันออกให้กับ[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]และ[[สหภาพโซเวียต]]ในอนาคต พื้นที่ภาคตะวันออกของเยอรมนีบางส่วนจึงอยู่ภายใต้การปกครองของ[[โปแลนด์]]และ[[สหภาพโซเวียต]]จนกระทั่ง[[สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี]]ถูกบังคับใช้ แต่ความจริงแล้วดินแดนพวกนี้จัดเป็นส่วนหนึ่งของ[[รัฐอธิปไตย]]ของพวกเขาทันที
 
นอกจากนี้ ภายใต้[[ประกาศเบอร์ลิน (ค.ศ. 1945)|ประกาศเบอร์ลินของฝ่ายสัมพันธมิตร]] ดินแดนที่เคยเป็น[[นาซีเยอรมนี]]เดิมก็จะถือว่าเป็นพื้นที่ภายในพรมแดนของแต่ละประเทศตั้งแต่วันที่ [[31 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1937]] ทั้งนี้ การขยายดินแดนนาซีทั้งหมดตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1938]] - [[ค.ศ. 1945|1945]] จากนี้ถือเป็นารปฏิบัติที่ไม่ถูก ต้องคืนให้แต่ละประเทศโดยอัตโนมัติ
 
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==