ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัสซีนี–เฮยเคินส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เพิ่มรูปภาพ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ปัจจุบัน}}
[[ไฟล์:celestia_cassini.png|thumbnail|right|250px|ภาพจำลองสามมิติ ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ขณะโคจรรอบดาวเสาร์ (ภาพจากโปรแกรม [[Celestia]])]]
 
[[ไฟล์:celestia_cassini.png|thumbnail|right|250px|ภาพจำลองสามมิติ ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ขณะโคจรรอบดาวเสาร์ (ภาพจากโปรแกรม [[Celestia]])]]
[[ไฟล์:Cassini's Grand Finale.jpg|200px|thumb|left|ยานกัสซินีพุ่งชน[[ดาวเสาร์]]]]
'''กัสซีนี–เฮยเคินส์''' ({{lang-en|Cassini–Huygens}}) หรือ '''แคสซีนี–ไฮเกนส์''' เป็นภารกิจยานอวกาศร่วมระหว่าง[[นาซา]]/[[3fhxagnngองค์การอวกาศยุโรป|ESA]]/[[องค์การอวกาศอิตาลี|ASI]] เพื่อศึกษา[[ดาวเสาร์]]และดาวบริวารตามธรรมชาติจำนวนมากตั้งแต่ พ.ศ. 2547 ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศใน พ.ศ. 2540 หลังพัฒนาแนวคิดมานานเกือบสองทศวรรษ ยานอวกาศดังกล่าวมีส่วนโคจรดาวเสาร์และยานสำรวจและส่วนลงอุตุนิยมวิทยาสำหรับดวงจันทร์[[ไททัน (ดวงจันทร์)|ไททัน]] แม้มันจะยังส่งกลับข้อมูลอย่างอื่นอีกอย่างกว้างขวาง รวมไปถึง[[เฮลิโอสเฟียร์]] [[ดาวพฤหัสบดี]] และ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ|การทดสอบสัมพัทธภาพ]] ยานสำรวจไททัน เฮยเคินส์ เข้าและลงจอดบนไททันใน พ.ศ. 2548 และได้พุ่งชนดาวเสาร์เพื่อทำลายตัวเองไปแล้วเมื่อวันที่ [[15 กันยายน]] [[พ.ศ. 2560]] เมื่อเวลา 10:31 [[UTC]] และสัญญานขาดหายเมื่อเวลา 11:55:46 [[UTC]]