ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทิวซิดิดีส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 83:
===การวิเคราะห์และตีความของนักวิชาการ===
 
อย่างไรก็ดีหากพิจารณาจากบันทึกมหาสงครามเพโลพอนนีเซียนทั้งเล่มของท่าน จะเห็นได้ว่าทิวซิดิดีส ไม่ได้เป็นนักสัจจะนิยมสายแข็ง แต่ท่านกลับมุ่งแสดงให้ผู้อ่านเห็นว่า อำนาจย่อมนำไปสู่ความกระสันที่จะแสวงหาอำนาจเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด หากไม่ถูกบั่นทอนโดยสำนึกของความยุติธรรม และความมัวเมาในอำนาจและความมั่งคั่งของจักรมรรดิอาจกลายเป็นเครื่องมือของนักการเมืองที่จะเอามาใช้เพื่อหาเสียงเข้าสู่อำนาจ จนประเทศชาติถูกนำพาไปสู่หายนะ ซึ่งนี่เป็นชะตากรรมแบบเดียวกับที่เอเธนส์เผชิญในที่สุด เพราะชาวเอเธนส์ถูกชักนำโดยผลประโยชน์แต่ถ่ายเดียว และไม่ใส่ใจที่จะคิดถึงความชอบธรรมทางจารีตประเพณีในการกระทำของตน พวกเขาจึงประเมินกำลังตัวเองสูงเกินไป และในที่สุดความกระหายอำนาจนั้นจึงนำไปสู่การแพ้สงคราม ดังนี้จะเห็นได้ว่าทิวซิดิดีวก็เอาภาพรวมของประวัติศาสตร์ มาอธิบายการล่มสลายของจักรวรดิเอเธนส์ว่าเกิดจากการตัดสินใจที่ผิดพลาดต่อๆกันมาเป็นอนุกรม เพราะถูกชักจูงโดยความโลภและขาดสติ ซึ่งเป็นแนวคิดที่คล้ายกับโศกนาฏกรรมกรีก ด้วยเหตุนี้นักวิชาการสมัยใหม่จึงเริ่มแคลงใจที่จะจัดให้ ทิวซิดิดีส เป็นบิดาของสัจจะนิยมสัจนิยมการเมือง (real politik) เหมือนอย่างในอดีต
 
นักปรัชญาการเมือง ลีโอ สเตราส์ (ในหนังสือ ''The City and Man'') เห็นว่าทิวซิดิดีสมีความรู้สึกขัดแย้งต่อวัฒนธรรมของชาวเอเธนส์ กล่าวคือในขณะที่สติปัญญาของตัวท่านเองเป็นผลผลิตของประชาธิปไตยแบบ[[เพริคลีส]] ซึ่งให้เสรีภาพแก่ความล้าคิดกล้าทำ ความกล้าเสี่ยงภัย และจิตวิญญาณที่ใฝ่ค้นหาคำตอบของปัจเจกบุคคล แต่เสรีภาพดังกล่าวในที่สุดก็ส่งเสริมความทะเยอทะยานทางการเมืองอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จนนำไปสู่ลัทธิจักรวรรดินิยม และความยุ่งเหยิงในประเทศ
นักวิชาการด้านกรีกโบราณ [[จาเคอลีน เดอ รอมิยี]] (Jacqueline de Romilly) เป็นคนแรกที่ชี้ให้เห็น เพียงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ว่าหนึ่งในศูนย์กลางในแก่นบท
ความของทิวซิดิดีสเป็นหลักจริยศาสตร์ของลัทธิจักรวรรดินิยมของชาวเอเธนเนี่ยน การวิเคราะห์ของเธอนำงานทางประวัติศาสตร์ของเขาใส่ไว้ในบริบทของกรีกโดยคิดจากหัวข้อทางการเมืองระหว่างประเทศ ตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐานของเธอ นักวิชาการหลายคนก็เริ่มศึกษาเรื่องแก่นของพลังทางการเมือง เช่น Realpolitik ในประวัติศาสตร์ของ ทิวซิดิดีส
 
นักวิชาการด้านกรีกโบราณ [[จาเคอลีน เดอ รอมิยี]] (Jacqueline de Romilly) เป็นคนแรกที่ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาในทางจริยศาสตร์เกี่ยวกับลัทธิจักรวรรดินิยมของเอเธนส์เป็น หนึ่งในประเด็นที่ทิวซิดิดีสเพ่งความสนใจมากที่สุด และเธอชี้ว่าท่านวางงานเขียนประวัติศาสตร์ของตนไว้ ในบริบทของความคิดแบบกรีกเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ การวิเคราะห์ของเธอกระตุ้นให้นักวิชาการหลายคนหันมาตั้งคำถามเกี่ยวกับมุมมองของทิวซิดิดีส ที่มีต่อ ''Realpolitik'' หรือแนวคิดสัจนิยมการเมือง จนมาเร็วๆนี้ความเชื่อว่าตัวทิวซิดิดีสเป็น "บิดาของสำนักความคิดสัจนิยมการเมือง" ถูกสั่นคลอนอย่างต่อเนื่อง นักวิชาการบางท่านรวมทั้ง [[ริชาร์ด เน็ด เลอโบ]] (Richard Ned Lebow) เห็นว่างานเขียนของทิวซิดิดีส อาศัยและอ้างอิงแนวคิดในบทกวีมหากาพย์ และ[[โศกนาฏกรรม]]ในวรรณกรรมกรีกอย่างมาก จนถึงขนาดว่าจะยกให้ท่านเป็น "นักประพันธ์โศกนาฏกรรมคนสุดท้าย"<ref>Richard Ned Lebow, ''The Tragic vision of Politics'' (Cambridge University Press, 2003), p. 20.</ref> ก็ไม่ผิดนัก
ในทางตรงกันข้าม นักเขียนบางคนรวมทั้ง Richard Ned Lebow ปฏิเสธแนวความคิดสามัญของทิวซิดิดีสอย่างเช่นนักประวัติศาสตร์ด้าน realpolitik พวกเขาโต้ว่านักแสดงบนเวทีโลกผู้ซึ่งเคยอ่านงานของเขาทุกคนจะตั้งข้อสังเกตว่าบางคนจะเข้าใจการแสดงของพวกเขากับการไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาข้องเกี่ยวของผู้รายงาน มากกว่าแรงบัลดาลใจของผู้เล่าเรื่องและมีส่วนร่วมอย่างตั้งใจหรือไม่ตั้งใจต่องานเขียน The Melian Dialogue ของเขาก็คือตัวอย่าง
 
ในทางตรงกันข้าม นักเขียนบางคนรวมทั้ง Richard Ned Lebow ปฏิเสธแนวความคิดสามัญของทิวซิดิดีสอย่างเช่นนักประวัติศาสตร์ด้าน realpolitik พวกเขาโต้ว่านักแสดงบนเวทีโลกผู้ซึ่งเคยอ่านงานของเขาทุกคนจะตั้งข้อสังเกตว่าบางคนจะเข้าใจการแสดงของพวกเขากับการไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาข้องเกี่ยวของผู้รายงาน มากกว่าแรงบัลดาลใจของผู้เล่าเรื่องและมีส่วนร่วมอย่างตั้งใจหรือไม่ตั้งใจต่องานเขียน The Melian Dialogue ของเขาก็คือตัวอย่าง
 
ทิวซิดิดีส ไม่ได้ใช้เวลาในการแลกเปลี่ยนความคิดต่อศิลปะ, วรรณกรรม, หรือสังคมในทางเดียวกับที่หนังสือถูกแต่งขึ้น และในทางเดียวกับที่ตัวเขาเองเติบโตขึ้นมา เขาเขียนถึงแต่เหตุการณ์ ไม่ใช่ยุคสมัย และเว้นระยะที่จะไม่อธิบายอะไรที่ไม่เกี่ยวข้องเช่นนั้น