ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูล
บรรทัด 78:
 
== สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ ==
{{ดูเพิ่มที่||มหาวิทยาลัยศิลปากร}}
 
ปี พปีพ.ศ. 2509 [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] โดย'''หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล''' อธิการบดีในขณะนั้น มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่ หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ใน[[วังท่าพระ]]คับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยัง[[พระราชวังสนามจันทร์]] [[จังหวัดนครปฐม]] โดยจัดตั้ง[[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]] พ.ศ. 2511 [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะศึกษาศาสตร์]] พ.ศ. 2513 (''เป็นคณบดีท่านแรกของและ[[คณะ'')วิทยาศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาศาสตร์]] พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้ง[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเภสัชศาสตร์]] พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือ[[คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม]]) พ.ศ. 2535
 
สาเหตุที่เลือกพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ '''หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล''' ได้ให้เหตุผลไว้ดังนี้
สาเหตุที่เลือก[[จังหวัดนครปฐม]]เป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ [[พระราชวังสนามจันทร์]] [[จังหวัดนครปฐม]] เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้
* '''ประการแรก''' พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทาง โบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะ ทาง วรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์
*# '''ประการที่สอง'''แรก บริเวณ[[พระราชวังสนามจันทร์]]เคยเป็นที่ตั้งพระราชวังของเทวาลัยคเณศ ซึ่ง [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้]] พระคเณศยังมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นเทพเจ้าแห่งอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง และทรงเป็นตราของนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางมหาวิทยาลัยศิลปากรวรรณศิลป์ อยู่แล้วทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์
# ประการที่สอง บริเวณ[[พระราชวังสนามจันทร์]]เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ [[พระพิฆเนศ]]ยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว
*# '''ประการสุดท้าย''' ที่[[จังหวัดนครปฐม]]มี[[วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร|พระปฐมเจดีย์]]ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็น ศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณ[[พระราชวัง สนามจันทร์]] [[จังหวัดนครปฐม]] จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร
 
ดำรงตำแหน่งอธิการบดี[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]ท่านแรก (ก่อนหน้านั้น[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]ใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดี[[กรมศิลปากร]]จะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]โดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่าง[[กรมศิลปากร]]และ[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการ[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]" เป็น "อธิการบดี[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]")
 
โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดี[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]ระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2508/D/070/2198.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๒ ตอนพิเศษ ๗๐ หน้า ๒๑๙๘ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๐๘</ref><ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2513/D/118/3550.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๑๑๘ หน้า ๓๕๕๐ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๑๓</ref>
 
== การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ==