ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหญิงพิกุลทอง (ละครโทรทัศน์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
{{ตารางวรรณคดี
| กวี = ไม่ปรากฏ
| ประเภท = [[บทละครนอก]]
| คำประพันธ์ = [[กลอนบทละคร]]
| ความยาว =
| สมัย = อยุธยา
บรรทัด 11:
}}
 
'''เรื่องนางพิกุลทอง''' นี้ เป็น [[ละครนอก]] หนึ่งใน 14 เรื่อง ที่นิยมนำมาเล่นกันมากเรื่องหนึ่งตั้งแต่ครั้ง [[สมัยอยุธยา]] ปัจจุบันยังพบว่ามีต้นฉบับหนังสือตัวเขียนที่เหลือรอดจากการถูกพม่าทำลายคราวเสียกรุง เก็บรักษาไว้อยู่ที่ [[หอสมุดแห่งชาติ]] เป็นสมุดข่อยสีขาว ตัวหมึกดำ ลายมือกึ่งบรรจงแกมหวัด ตัวอักษรไม่สม่ำเสมอและมีบันทึกว่าหมู่ หมู่กลอนบทละคร ชื่อ พิกุลทอง เล่ม 1 (สำนวนเก่า) เลขที่ 20 ตู้ที่ 114 ชั้น 2/1 มัด 39 ประวัติ สมบัติเดิมของหอพระสมุดวชิรญาณ" ซึ่งมีเนื้อความเริ่มตั้งแต่นางพิกุลทองสรงน้ำ จนจบตอนท้ายคือปราบนางยักษ์กาขาวและยังไม่ได้รับตรวจสอบชำระฉบับที่เหลืออื่นๆ หรือตีพิมพ์จากกรมศิลปากร ส่วนเรื่องนางพิกุลทองต่อจากสำนวนเดิมที่เป็นการผจญภัยยืดยาวถึงรุ่นลูกนั้น มาจากกลอนอ่านสำนวนของ [[นายบุศย์ รจนา]] จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์วัดเกาะราวปี [[พ.ศ. 2433]] ตรงกับสมัย [[รัชกาลที่ 5]] ซึ่งนายบุศย์ผู้นี้ได้นำนิทานไทยครั้งกรุงเก่ามาแต่งสำนวนใหม่เป็น "กลอนอ่าน" หรือ [[กลอนสวด]] อยู่หลายเรื่อง เช่น [[แก้วหน้าม้า]], [[จันทโครพ]], [[สุวรรณหงส์]] เป็นต้น
 
อย่างไรก็ตามเมื่อสังเกตตามเนื้อเรื่อง สำนวนกลอนค่อนข้างจะรวบรัดและไม่สละสลวยเท่าใดนัก เพราะผู้แต่งคงมีจุดประสงค์เพียงไว้สำหรับเล่นละครเท่านั้น แม้การบอกเพลงหน้าพาทย์ก็ไม่ชัดเจนแน่นอน มีตอนที่กล่าวถึง พระสังข์ศิลป์ชัยและนางศรีสุพรรณ ซึ่งเป็นตัวละครจากบทละครนอกเรื่อง [[สังข์ศิลป์ชัย]] พร้อมทั้งมีของวิเศษที่เหมือนกันทุกประการ อันได้แก่ สังข์ ศร และพระขรรค์ จึงสันนิษฐานว่า ผู้แต่งคงมีจุดประสงค์ดำเนินเรื่องให้เป็นภาคต่อจากเรื่อง [[สังข์ศิลป์ชัย]] เพราะเรื่อง [[สังข์ศิลป์ชัย]] ก็ไม่ได้กล่าวถึงการผจญภัยในรุ่นลูกไว้เลย