ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศสวิตเซอร์แลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PP2014 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 6984953 โดย EZBELLAด้วยสจห.
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
"ประชาธิปไตยโดยตรง"
บรรทัด 12:
| capital = ไม่มี ([[โดยนิตินัย]])<br />[[แบร์น]] ([[โดยพฤตินัย]])|latd=46|latm=57|latNS=N|longd=7|longm=27|longEW=E
| largest_city = [[ซือริช]]
| government_type = [[ประชาธิปไตยทางโดยตรง]]<br />[[สหพันธ์]][[สาธารณรัฐ]]
| leader_title1 = มนตรีสหพันธ์
| leader_title2 =
บรรทัด 165:
 
ชื่อต่อไปนี้เป็นเขตปกครองที่มีดินแดนของสวิตเซอร์แลนด์โอบล้อมอยู่: [[บือซิงเงิน]] (Büsingen) เป็นดินแดนของ[[ประเทศเยอรมนี]] และ[[กัมปีโอเนดีอิตาเลีย]] (Campione d'Italia) เป็นดินแดนของ[[ประเทศอิตาลี]]
 
[[ไฟล์:Landsgemeinde Glarus 2006.jpg|thumb| การประชุมเมืองแบบ Landsgemeinde เป็นรูปแบบเก่าของ[[ประชาธิปไตยโดยตรง]] ซึ่งยังปฏิบัติอยู่ในรัฐสองรัฐ ]]
=== ประชาธิปไตยโดยตรง ===
{{ข้อมูลเพิ่มเติม |การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ | การลงประชามติโดยบังคับ | การลงประชามติโดยเลือก}}
[[ประชาธิปไตยโดยตรง]]และ[[สหพันธรัฐ]] เป็นเอกลักษณ์ของ[[ระบบการปกครอง]]ของสวิส<ref name=CHPS>{{cite book | title = Handbuch der Schweizer Politik - Manuel de la politique suisse | editors = Knoepfel, Peter; Papadopoulos, Yannis; Sciarini, Pascal; Vatter, Adrian; Häusermann, Silja | edition = 5 | publisher = Verlag Neue Zürcher Zeitung, NZZ libro | location = Zürich, Switzerland | date = 2014 | isbn = 978-3-03823-866-9 | url = http://www.nzz-libro.ch/handbuch-der-schweizer-politik-manuel-de-la-politique-suisse.html | language = de, fr}}</ref>
ประชาชนชาวสวิสแต่ละคนจะอยู่ใต้การปกครอง 3 ระดับ คือ [[เทศบาล]] [[รัฐ]] และ[[สหพันธรัฐ]]
 
รัฐธรรมนูญปี 2391/2542 ได้กำหนดกลไกทางประชาธิปไตยโดยตรงหลายอย่าง การปกครองแบบนี้บางครั้งจึงเรียกว่า "ประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง" หรือ "ประชาธิปไตยโดยตรงแบบมีผู้แทน"
กลไกเยี่ยงนี้ในระดับสหพันธรัฐ ที่เรียกว่าสิทธิประชาชน ({{lang-en |popular rights}}, {{lang-de |Volksrechte}}, {{lang-fr |droits populaires}}, {{lang-it |Diritti popolari}})<ref name=PopularRights>{{HDS |D48664|Popular rights | author = Gross, Andreas | date = 2015-04-22}}</ref>
รวมสิทธิการเสนอ "[[การริเริ่มเปลี่ยนรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐโดยประชาชน]]" และ "[[การลงประชามติ|การขอ/ลงประชามติ]]" ที่สามารถล้มกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาได้<ref name = Politics/><ref>
{{cite news | author = Kaufmann, Bruno | date = 2007-05-18 | url = http://www.telegraph.co.uk/news/1435383/How-direct-democracy-makes-Switzerland-a-better-place.html | title = How direct democracy makes Switzerland a better place | newspaper = The Telegraph | location = London, UK | accessdate = 2009-12-09}}</ref>
 
กระบวนการนี้ทำให้ประชาชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจต่อสู้กับกฎหมายที่ออกโดย[[รัฐสภา]] ถ้าสามารถรวบรวมลายเซ็น 50,000 รายหลังจากที่กฎหมายประกาศใช้เป็นทางการภายใน 100 วัน
ถ้าสำเร็จ ก็จะมี[[การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์|การจัดให้ออกเสียงทั้งประเทศ]] ที่ประชาชนจะตัดสินโดยเสียงข้างมากธรรมดาว่า จะยอมรับหรือไม่ยอมรับกฎหมาย
รัฐ 8 รัฐร่วมกันยังสามารถร้องให้มีการลงประชามติต่อกฎหมายของสหพันธรัฐได้ด้วย<ref name = Politics/>
 
โดยคล้าย ๆ กัน [[การริเริ่มเปลี่ยนรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐโดยประชาชน]]อนุญาตให้ประชาชนร้องให้ลงประชามติเพื่อเพิ่มบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ถ้าสามารถรวบรวมลายเซ็น 100,000 รายได้ภายใน 18 เดือน
แต่รัฐบาลทั้งฝ่ายบริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติก็สามารถเสนอการเพิ่มบทบัญญัติตอบโต้เคียงคู่กับที่ประชาชนเสนอ
โดยประชาชนจะบ่งความชอบใจในบัตรเลือกตั้งเผื่อกรณีที่ข้อเสนอของประชาชนและข้อเสนอตอบโต้ทั้งสองได้คะแนนเสียงยอมรับเหมือนกัน
การเปลี่ยนรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าจะเสนอโดยประชาชนหรือรัฐสภา ต้องได้คะแนนเสียงข้างมากจากทั้งประชาชนทั่วประเทศและรัฐทุกรัฐ
 
== นโยบายต่างประเทศของสวิตเซอร์แลนด์ ==