ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok ย้ายหน้า ความหลากหลายทางพันธุกรรม ไปยัง ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม: ตามราชบัณฑิตยสถ...
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกิอังกฤษ บทนำเท่านั้น
บรรทัด 1:
'''{{ระวังสับสน |ความหลากหลายแตกต่างทางพันธุกรรม''' ({{lang-en|genetic variation}}) คือ|ความหลากหลายของอัลลีลในยีนหนึ่งๆทางพันธุกรรม อาจเป็นความหลากหลายในกลุ่มประชากรเดียวกันหรือระหว่างกลุ่มประชากรที่แตกต่างกันก็ได้(genetic diversity)}}
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
การเปลี่ยนแปรทางพันธุกรรม, ความผันแปรทางพันธุกรรม,
การเปลี่ยนแปรของยีน, ความผันแปรของยีน,
การเปลี่ยนแปรได้ทางพันธุกรรม, ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม, ความเปลี่ยนแปลงได้ทางพันธุกรรม, ความเปลี่ยนได้ทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปรได้ของยีน, ความผันแปรได้ของยีน, ความเปลี่ยนแปลงได้ของยีน, ความเปลี่ยนได้ของยีน
ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม (genetic variability), ความผันแปรได้ของยีน (genetic variability)
genetic variability
-->
'''การเปลี่ยนแปรทางพันธุกรรม'''<ref name=RoyalDict>{{Citation | title = variability | quote = (ประชาศาสตร์) การเปลี่ยนแปร | work = ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ }}</ref>
หรือ '''ความผันแปรทางพันธุกรรม'''<ref name=Lexitron>{{Citation | title = variability | quote = ความผันแปร | work = Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6 | url = http://lexitron.nectec.or.th | publisher = หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | year = 2546 }}</ref>
หรือ '''ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม'''
({{lang-en |Genetic variability}}, จากคำว่า vary + liable - เปลี่ยนได้)
เป็นสมรรถภาพของระบบชีวภาพไม่ว่าจะที่ระดับ[[สิ่งมีชีวิต]]หรือที่กลุ่มประชากร ในการเปลี่ยนไปตามกาลเวลา
มูลฐานของความผันแปรได้ทางพันธุกรรมก็คือ[[ความแตกต่างทางพันธุกรรม]]ของระบบชีวภาพในระดับต่าง ๆ<ref>{{cite book | authors = Rieger, R; Michaelis, A; Green, NM | year = 1976 | title = Glossary of genetics and cytogenetics: Classical and molecular | location = Verlag, New York | publisher = Springer, Heidelberg | isbn = 3-540-07668-9, 0-387-07668-9 }}</ref><ref>
{{cite book | authors = Nayr, E | year = 1970 | title = Populations, species, and evolution - An abridgment of Animal species and evolution | location = Cambridge, Massachusetts and London, England | publisher = The Belknap Press of Harvard University Press | isbn = 0-674-69013-3 }}</ref><ref>
{{cite book | authors = Dobzhansky, T | year = 1970 | title = Genetics of It the evolutionary process | location = Columbia, New York | isbn = 0-231-02837-7}}</ref>
 
ความผันแปรได้ทางพันธุกรรมอาจนิยามได้ด้วยว่า เป็นค่าความโน้มเอียงที่[[จีโนไทป์]]แต่ละชนิด ๆ ในกลุ่มประชากรจะแตกต่างกัน
โดยต่างจาก[[ความหลากหลายทางพันธุกรรม]] (genetic diversity) ซึ่งเป็นจำนวนความแตกต่างที่พบในกลุ่มประชากร<ref name=YAL1995>{{cite book | title = Variation and Variability | year = 1995 | publisher = Yale University | accessdate = 2007-05-24 | url = http: //www.cbc.yale.edu/old/cce/papers/ALife/node2.html}}</ref>
ความผันแปรได้ของ[[ลักษณะสืบสายพันธุ์]] (trait) จึงหมายถึงค่าความโน้มเอียงที่ลักษณะจะต่าง ๆ กันเป็นการตอบสนองต่อ[[สิ่งแวดล้อม]]และปัจจัยทางพันธุกรรมอื่น ๆ<ref name=YAL1995/>
ความผันแปรได้ของยีนในกลุ่มประชากรสำคัญต่อ[[ความหลากหลายทางชีวภาพ]] (biodiversity)<ref>{{cite journal | authors = Sousa, P; Froufe, E; Harris, DJ; Alves, PC; van der Neijden, A | year = 2011 | url = http://www.africaninvertebrates.org.za/Sousa_etal_2011_5_1_494.aspx | title = Genetic diversity of Maghrebian ''Hottentotta'' (Scorpiones: Buthidae) scorpions based on 001: new insights on the genus phylogeny and distribution | journal = African Invertebrates | volume = 52 | issue = 1 |deadurl = yes |archiveurl = https://web.archive.org/web/20120312083057/http://www.africaninvertebrates.org.za/Sousa_etal_2011_5_1_494.aspx |archivedate=2012-03-12 }} </ref>
เพราะถ้าไม่สามารถผันแปรได้ กลุ่มสิ่งมีชีวิตก็จะมีปัญหา[[การปรับตัว (นิเวศวิทยา)|ปรับตัว]]ให้เข้ากับ[[สิ่งแวดล้อม]] และดังนั้น จะเสี่ยงต่อ[[การสูญพันธุ์]]
 
ความผันแปรได้เป็นปัจจัยสำคัญในกระบวนการ[[วิวัฒนาการ]] เพราะมีผลต่อการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อความกดดันทางสิ่งแวดล้อม และดังนั้น สิ่งมีชีวิตจึงสามารถรอดชีวิตได้ต่าง ๆ กันในกลุ่มประชากรหนึ่ง ๆ เนื่องจากธรรมชาติจะคัดเลือกความต่างซึ่งเหมาะสมที่สุด
ความผันแปรได้ยังเป็นมูลฐานของ[[ความเสี่ยง]]ต่อโรคและความไวพิษ/ยาที่ต่าง ๆ กันในสิ่งมีชีวิต
ซึ่งเพิ่มความสนใจในเรื่องการแพทย์ปรับเฉพาะบุคคล (personalized medicine)
โดยเนื่องจาก[[โครงการจีโนมมนุษย์]]และความพยายามเพื่อสร้างแผนที่กำหนดขอบเขตความแตกต่างทางพันธุกรรมของมนุษย์ เช่น ในโครงการ International Hapmap
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง |30em}}
 
[[หมวดหมู่:พันธุศาสตร์ประชากร]]
{{โครงชีววิทยา}}
[[หมวดหมู่:พันธุศาสตร์ประชากร]]
[[en:Genetic variability]]