ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 53:
รุ่งเรืองสถาพรแก่ประเทศชาติสืบไป}}
 
[[ไฟล์:ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 2 และ 3.jpg|thumb|200px|ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว]]
 
จากนั้นคณะบริหารประเทศชั่วคราวได้สั่งยกเลิกรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2492 หันกลับไปใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 |รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2475]] อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกมาใช้แทน ซึ่งการรัฐประหารครั้งนี้ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าเป็นการกระทำที่ประหลาดที่สุดในโลก และเป็นเหตุให้พรรคฝ่ายค้าน คือ [[พรรคประชาธิปัตย์]] ได้ประกาศ[[คว่ำบาตร]]รัฐบาลทุกประการ เช่น ไม่ร่วม[[เลือกตั้ง]]ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495|การเลือกตั้งปี พ.ศ. 2495]] เป็นต้น
เส้น 58 ⟶ 59:
อนึ่ง การรัฐประหารครั้งนี้ได้เกิดขึ้นก่อนที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ซึ่งขณะนั้นได้เสด็จกลับจาก[[สวิสเซอร์แลนด์]]เรือพระที่นั่งจะเข้า[[อ่าวไทย]] จะเสด็จนิวัติพระนครเพียง 16 ชั่วโมง<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/071/13.PDF</ref> เท่านั้นทรงเสด็จออกจากประเทศสิงคโปร์มายังประเทศไทยในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ทรงเสด็จนิวัติประเทศไทย ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2494 โดยที่คณะบริหารประเทศชั่วคราว ได้ขอให้ [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร]] [[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] ลงพระนามในประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ แต่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัตฯ มิได้ทรงลง โดยทรงให้เหตุผลว่า ควรจะยกให้เป็นพระราชวินิจฉัย อย่างไรก็ตาม ในวันต่อมา ก็ได้มีประกาศว่า คณะรัฐมนตรีชั่วคราว ถืออำนาจแทนพระเจ้าแผ่นดิน ได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญแล้ว <ref>หน้า 198, ''นายควง อภัยวงศ์ กับ พรรคประชาธิปัตย์'' โดย ณัฐวัติ สุทธิสงคราม (พ.ศ. 2522)</ref> <ref>หน้า 49, ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] (พ.ศ. 2555) ISBN 978-974-228-070-3</ref>
<ref>[http://socialitywisdom.blogspot.com/2007/04/blog-post_6780.html บทความที่ ๑๑๗. สยามวิกฤติ ตอนที่ ๑๑]</ref>
[[ไฟล์:ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 2 และ 3.jpg|thumb|200px|ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว]]
 
==ดูเพิ่ม==