ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏแมนฮัตตัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
[[ไฟล์:HTMS Sri Ayutthaya before sinking.jpg|thumb|250px|left|เรือหลวงศรีอยุธยา ขณะถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก]]
 
การสู้รบกันขึ้นเมื่อเวลา 04.30 น. ของวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2494 เริ่มจากฝ่ายรัฐบาล โดยกองทัพบกภายใต้การนำของ พลโท [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] กองทัพอากาศภายใต้การบัญชาของพลอากาศเอก [[ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี]] และกำลังตำรวจโดยพลตำรวจโท [[เผ่า ศรียานนท์]] การสู้รบแพร่ขยายไปอย่างกว้างขวาง ทหารบกเริ่มโจมตีจากด้านพระนคร กองทัพอากาศเริ่มทิ้งระเบิดที่กรมอู่ทหารเรือ และตำแหน่งคลังเชื้อเพลิง
ในที่สุดมีการทิ้งระเบิดขนาก 50 กก. จากเครื่องบินแบบ [[Spitfire]] และ T6 ใส่[[เรือรบหลวงศรีอยุธยา]]ที่อยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา ลูกระเบิดดังกล่าวทะลุดาดฟ้าลงไประเบิดในคลังกระสุนใต้ท้องเรือ<ref>{{cite web | url = https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_1309 | title = นายทหารผู้ทำลาย “เรือหลวงศรีอยุธยา” เผย “เสียใจ-ไม่ได้ตั้งใจ” แต่เป็นเพราะ “ระเบิดเสื่อม” | publisher = ''ศิลปะวัฒนธรรม'' | date = 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 | quote = แต่ระเบิดที่เอาไปใช้มันเสื่อม ถ้าเป็นระเบิดใหม่กระทบดาดฟ้าก็ระเบิด ถึงไฟไหม้ก็ไหม้เพียงบนดาดฟ้าพอดับได้ไม่ถึงกับจม แต่นี่มันเป็นระเบิดเก่าทะลวงดาดฟ้าลงไประเบิดข้างล่าง แถมเจอกองกระสุนในเรือเข้าอีก เลยระเบิดกันใหญ่ (น.ต. พร่างเพชร์ บุญยพันธ์)}}</ref> จึงจนกระทั่งเวลาประมาณ 15.00 น. ของวันที่ 30 มิถุนายน [[พ.ศ. 2494]] เรือก็จม และในเวลา 17.00 เรือหลวงคำรณสินธ์ ซึ่งทำหน้าที่คุ้มครองคลังน้ำมันอยู่ที่บริเวณกรมอู่ทหารเรืออับปางลงอีกลำหนึ่ง จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกทหารเรือที่อยู่บนเรือสวมเสื้อชูชีพนำว่ายน้ำหลบหนีออกมาได้ ที่สุดทั้งฝ่ายกบฏและรัฐบาลเปิดการเจรจากัน ฝ่ายกบฏได้ปล่อยตัวจอมพล ป. ให้กับฝ่ายรัฐบาล โดยผ่านทางทหารเรือด้วยกัน ซึ่ง พล.ร.อ.สินธุ์ ก็ได้นำตัวคืนสู่[[วังปารุสกวัน]] กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในเวลาประมาณ 23.00 น. ของวันนั้น และต่อมาในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 ได้มีคำสั่ง ปลด[[หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)]] ผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือโท หลวงเจริญราชนาวา (เจริญ ทุมมานนท์) รองผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือโท ผัน นาวาวิจิต ผู้บัญชาการกองเรือรบ พลเรือตรี ชลิต กุลกำม์ธร รองผู้บัญชาการกองเรือรบ พลเรือตรี กนก นพคุณ ผู้บังคับการมณฑลทหารเรือที่ 1 พลเรือตรี ประวิศ ศรีพิพัฒน์ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ พลเรือตรี ดัด บุนนาค เจ้ากรมสรรพาวุธทหารเรือ พลเรือตรี แชน ปัจจุสานนท์ รองเสนาธิการทหารเรือฝ่ายยุทธการ พลเรือตรี ชลี สินธุโสภณ ผู้บังคับการกองสัญญาณทหารเรือ และ พลเรือตรี สงวน รุจิราภา นายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ ถูกพักราชการและปลดออกจากตำแหน่ง เป็นอันสิ้นสุดเหตุการณ์ ในส่วนของผู้ก่อการได้ถูกบีบบังคับให้ขึ้นรถไฟไปทางภาคเหนือ จากนั้นจึงแยกย้ายกันหลบหนีข้ามพรมแดนไป[[พม่า]]และ[[สิงคโปร์]] ในส่วนของ น.ต.มนัส จารุภา ร.น. ผู้ทำการจี้จอมพล ป. ได้หลบหนีไปพม่าได้สำเร็จ แต่ถูกจับกุมได้หลังจากลักลอบกลับเข้าประเทศเมื่อปี [[พ.ศ. 2495]]
 
 
ในที่สุดมีการทิ้งระเบิดขนากขนาด 50 กก. จากเครื่องบินแบบ [[Spitfire]] และ T6 ใส่[[เรือรบหลวงศรีอยุธยา]]ที่อยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา ลูกระเบิดดังกล่าวทะลุดาดฟ้าลงไประเบิดในคลังกระสุนใต้ท้องเรือ<ref>{{cite web | url = https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_1309 | title = นายทหารผู้ทำลาย “เรือหลวงศรีอยุธยา” เผย “เสียใจ-ไม่ได้ตั้งใจ” แต่เป็นเพราะ “ระเบิดเสื่อม” | publisher = ''ศิลปะวัฒนธรรม'' | date = 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 | quote = แต่ระเบิดที่เอาไปใช้มันเสื่อม ถ้าเป็นระเบิดใหม่กระทบดาดฟ้าก็ระเบิด ถึงไฟไหม้ก็ไหม้เพียงบนดาดฟ้าพอดับได้ไม่ถึงกับจม แต่นี่มันเป็นระเบิดเก่าทะลวงดาดฟ้าลงไประเบิดข้างล่าง แถมเจอกองกระสุนในเรือเข้าอีก เลยระเบิดกันใหญ่ (น.ต. พร่างเพชร์ บุญยพันธ์)}}</ref> จึงจนกระทั่งเวลาประมาณ 15.00 น. ของวันที่ 30 มิถุนายน [[พ.ศ. 2494]] เรือก็จม และในเวลา 17.00 เรือหลวงคำรณสินธ์ ซึ่งทำหน้าที่คุ้มครองคลังน้ำมันอยู่ที่บริเวณกรมอู่ทหารเรืออับปางลงอีกลำหนึ่ง จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกทหารเรือที่อยู่บนเรือสวมเสื้อชูชีพนำว่ายน้ำหลบหนีออกมาได้ ที่สุดทั้งฝ่ายกบฏและรัฐบาลเปิดการเจรจากัน ฝ่ายกบฏได้ปล่อยตัวจอมพล ป. ให้กับฝ่ายรัฐบาล โดยผ่านทางทหารเรือด้วยกัน ซึ่ง พล.ร.อ.สินธุ์ ก็ได้นำตัวคืนสู่[[วังปารุสกวัน]] กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในเวลาประมาณ 23.00 น. ของวันนั้น และต่อมาในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 ได้มีคำสั่ง ปลด[[หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)]] ผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือโท หลวงเจริญราชนาวา (เจริญ ทุมมานนท์) รองผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือโท ผัน นาวาวิจิต ผู้บัญชาการกองเรือรบ พลเรือตรี ชลิต กุลกำม์ธร รองผู้บัญชาการกองเรือรบ พลเรือตรี กนก นพคุณ ผู้บังคับการมณฑลทหารเรือที่ 1 พลเรือตรี ประวิศ ศรีพิพัฒน์ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ พลเรือตรี ดัด บุนนาค เจ้ากรมสรรพาวุธทหารเรือ พลเรือตรี แชน ปัจจุสานนท์ รองเสนาธิการทหารเรือฝ่ายยุทธการ พลเรือตรี ชลี สินธุโสภณ ผู้บังคับการกองสัญญาณทหารเรือ และ พลเรือตรี สงวน รุจิราภา นายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ ถูกพักราชการและปลดออกจากตำแหน่ง เป็นอันสิ้นสุดเหตุการณ์ ในส่วนของผู้ก่อการได้ถูกบีบบังคับให้ขึ้นรถไฟไปทางภาคเหนือ จากนั้นจึงแยกย้ายกันหลบหนีข้ามพรมแดนไป[[พม่า]]และ[[สิงคโปร์]] ในส่วนของ น.ต.มนัส จารุภา ร.น. ผู้ทำการจี้จอมพล ป. ได้หลบหนีไปพม่าได้สำเร็จ แต่ถูกจับกุมได้หลังจากลักลอบกลับเข้าประเทศเมื่อปี [[พ.ศ. 2495]]
 
โดยการกบฏครั้งนี้นับว่าเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เพราะสถานที่ต่าง ๆ เสียหาย และมีผู้บาดเจ็บล้มตายนับร้อยทั้งทหารของทั้ง 2 ฝ่าย รวมถึงประชาชนที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ เฉพาะผู้เสียชีวิตมีจำนวนประมาณ 180 คน<ref>[http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99 กบฎแมนฮัตตัน ฐานข้อมูลการเมืองสถาบันพระปกเกล้า]</ref>นับเป็นเหตุการณ์สงครามกลางเมืองที่คนไทยฆ่าคนไทยมากที่สุดจวบจนปัจจุบัน