ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่ทุ่งราบอู่จ้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Charnvit (คุย | ส่วนร่วม)
add "Fei yi" in commander list.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| name = ศึกอู่จั้งหยวน
| partof = [[ศึกสงครามในสามก๊ก]]
| image = [[ภาพ:Living Zongda Fleeing.jpg|300px|center]]
| image =
 
| caption =
| caption = ภาพวาดยุค[[ราชวงศ์ชิง]] สุมาอี้ตกใจกลัวขงเบ้ง ซึ่งแท้ที่จริงแล้วเป็นหุ่นจำลอง
| date = [[.ศ. 777234]]
| place = ที่ราบอู่จั้ง [[มณฑลส่านซี]] [[ประเทศจีน]]
| territory = ปากทางเขาโฮโลก๊ก
เส้น 15 ⟶ 16:
| strength2 = [[วุยก๊ก]] 400,000 คน
}}
{{สงครามสามก๊ก}}
'''ศึกอู่จั้งหยวน''' ({{lang-en|Battle of Wuzhang Plains}} ; {{Zh-all|t=五丈原之戰|p=Wu Zhàng Zhi Zhàn}}) เป็นหนึ่งใน [[ศึกสงครามในสามก๊ก]] จาก [[วรรณกรรม]] [[จีน]] อิง [[ประวัติศาสตร์]] เรื่อง [[สามก๊ก]] เกิดขึ้นในระหว่าง[[เดือนเมษายน]]ถึง[[ฤดูใบไม้ร่วง]] [[พ.ศ. 777]] บริเวณที่ราบอู่จั้ง ในมฑณลส่านซี ศึกอู่จั้งหยวนเป็นหนึ่งในศึกสงครามการบุกทางเหนือของขงเบ้ง โดยมีขงเบ้งและสุมาอี้เป็นแม่ทัพ ซึ่งผลของศึกอู่จั้งหยวนคือวุยก๊กเป็นฝ่ายชนะ จ๊กก๊กแตกพ่ายถอยหนีและเป็นการบัญชาศึกสงครามครั้งสุดท้ายของขงเบ้ง
 
'''ศึกอู่จั้งหยวน''' ({{lang-en|Battle of Wuzhang Plains}} ; {{Zh-all|t=五丈原之戰|p=Wu Zhàng Zhi Zhàn}}) เป็นหนึ่งใน [[ศึกสงครามในสามก๊ก]] จาก [[วรรณกรรม]] [[จีน]] อิง [[ประวัติศาสตร์]] เรื่อง [[สามก๊ก]] เกิดขึ้นในระหว่าง[[เดือนเมษายน]]ถึง[[ฤดูใบไม้ร่วง]] [[.ศ. 777234]] บริเวณที่ราบที่[[ราบอู่จั้ง]] ในมฑณลส่านซี[[มณฑลส่านซี]] ศึกอู่จั้งหยวนเป็นหนึ่งใน[[การบุกขึ้นเหนือของจูกัดเหลียง|ศึกสงครามการบุกทางเหนือของขงเบ้ง]] โดยมีขงเบ้งและสุมาอี้เป็นแม่ทัพ ซึ่งผลของศึกอู่จั้งหยวนคือวุยก๊กเป็นฝ่ายชนะ จ๊กก๊กแตกพ่ายถอยหนีและเป็นการบัญชาศึกสงครามครั้งสุดท้ายของขงเบ้ง
 
== จุดเกิดของสงคราม ==
ศึกอู่จั้งหยวนเกิดขึ้นจากภายหลังที่ขงเบ้งซ่องสุมเตรียมกำลังทหารและไพร่พลจำนวนมากในระยะเวลาสามปี เพื่อนำทัพบุกวุยก๊กเป็นครั้งที่ห้าหกและเลือกใช้เส้นทางเดินทัพเดิมคือหุบเขากิสาน ซึ่งการเลือกเส้นทางเดินทัพในครั้งนี้กลับเป็นผลร้ายแก่ขงเบ้ง เมื่อสุมาอี้นำกำลังทหารออกมาตั้งรับและสกัดดักจับตัวขงเบ้ง<ref name="ศึกอู่จั้งหยวน">ศึกอู่จั้งหยวน สงครามสามก๊ก, ศึกสงครามในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550, หน้า 208, ISBN 978-974-690-595-4</ref>
 
ในวรรณกรรม สุมาอี้ถูกขงเบ้งหลอกให้ติดอยู่ช่องเขาและถูกใช้ไฟเผากองทัพพร้อมกับ[[สุมาสู]]และ[[สุมาเจียว]] ผู้เป็นบุตรชายทั้งสอง แต่ทว่าฝนเกิดตกลงมาอย่างไม่คาดคิด ทำให้ทั้งสามรอดชีวิตออกไปได้ นับตั้งแต่นั้นสุมาอี้คิดขยาดขงเบ้ง ได้แต่ตั้งค่ายป้องกันเพียงอย่างเดียว ไม่ได้สั่งให้ทหารออกไปสู้ แม้ว่าทางฝ่ายขงเบ้งจะให้[[อุยเอี๋ยน]]ไปส่งเสียงท้าถึงหน้าค่าย รวมถึงส่งอาภรณ์ผู้หญิงไปให้สุมาอี้ด้วย แต่สุมาอี้ก็ไม่คิดใส่ใจ จนกระทั่งขงเบ้งป่วยหนัก ซึ่งขงเบ้งรู้ตัวว่าชีวิตตนเองใกล้จะจบลงแล้ว จึงได้ทำพิธีต่อชะตาอายุตนเอง ด้วยการภาวนาท่องมนต์ตามลำพังในกระโจม และจุดตะเกียงไว้รอบตัว ถ้าหากว่าตะเกียงยังคงสว่างไสวได้ตลอด 7 วัน ก็หมายถึงว่า อายุของขงเบ้งก็จะต่อออกไปได้อีกช่วงหนึ่ง ซึ่งเรื่องนี้มีผู้รู้น้อยรายเพราะขงเบ้งไม่ต้องการให้สุมาอี้ล่วงรู้ หนึ่งในนั้นคือ [[เกียงอุย]] ซึ่งเป็นนายทหารคนสนิท พิธีดำเนินมาด้วยดีติดต่อกันได้เกือบ 7 วัน จะครบกำหนดแล้ว ฝ่ายสุมาอี้เห็นผิดปกติที่กองทัพจ๊กก๊กไม่ออกมาส่งเสียงท้าทายหน้าค่ายเหมือนเคย จึงสงสัย และได้ตรวจดูดวงดาวบนท้องฟ้า พบว่าดาวประจำตัวของขงเบ้งอับแสงเต็มที จึงคาดเดาออกว่าขงเบ้งคงใกล้จะสิ้นชีพ จึงให้ยกกองทัพไปที่ค่ายจ๊กก๊กเพื่อสำรวจและเข้าโจมตีถ้ามีโอกาส อุยเอี๋ยนซึ่งไม่ทราบเรื่องพิธีต่ออายุ ได้พุ่งพรวดเข้าไปรายงานถึงในกระโจม ทำให้ตะเกียงที่จุดอยู่นั้นดับลง ขงเบ้งร้องเสียงหลงว่า ชีวิตเราคงจะสิ้นสุดลงแล้ว เกียงอุยโมโหอุยเอี๋ยน ถือกระบี่ปราดเข้าไปหมายจะสังหาร แต่ขงเบ้งได้ห้ามไว้พร้อมกล่าวว่า ไม่ใช่ความผิดของอุยเอี๋ยนหรอก เป็นชะตาของเราเอง จากนั้นมาขงเบ้งก็ป่วยหนัก และได้สั่งเสียต่าง ๆ พร้อมทั้งส่งมอบตำราพิชัยสงครามทั้งหมดแก่เกียงอุย โดย[[พระเจ้าเล่าเสี้ยน]]เมื่อทราบข่าว ก็ได้ให้[[ลิฮก]]ไปถามว่า หากท่านสิ้นไปแล้วจะให้ผู้ใดรับตำแหน่ง[[อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)|อัครมหาเสนาบดีแห่งจ๊กก๊ก]] ขงเบ้งตอบว่า[[เจียวอ้วน]] และต่อจากเจียวอ้วนคือ[[บิฮุย]] หลังจากนั้นขงเบ้งก็สิ้นใจลง กองทัพจ๊กก๊กจึงต้องยกกลับ
ศึกอู่จั้งหยวนเกิดขึ้นจากภายหลังที่ขงเบ้งซ่องสุมเตรียมกำลังทหารและไพร่พลจำนวนมากในระยะเวลาสามปี เพื่อนำทัพบุกวุยก๊กเป็นครั้งที่ห้าและเลือกใช้เส้นทางเดินทัพเดิมคือหุบเขากิสาน ซึ่งการเลือกเส้นทางเดินทัพในครั้งนี้กลับเป็นผลร้ายแก่ขงเบ้ง เมื่อสุมาอี้นำกำลังทหารออกมาตั้งรับและสกัดดักจับตัวขงเบ้ง<ref name="ศึกอู่จั้งหยวน">ศึกอู่จั้งหยวน สงครามสามก๊ก, ศึกสงครามในสามก๊ก-อินไซด์สามก๊ก, กัญจน์ดามาศ โกพล, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550, หน้า 208, ISBN 978-974-690-595-4</ref>
 
ก่อนหน้าที่ขงเบ้งจะสิ้นใจ ได้วางแผนจัดการกับสุมาอี้ ซึ่งเมื่อทราบข่าวจะต้องบุกตามมาตีเป็นแน่ ด้วยการสั่งให้นำศพของตนบรรจุลงในลักษณะนั่งในโลงแทนที่จะนอน และให้ใส่ข้าวสารในปากสามเมล็ด พร้อมทั้งจุดตะเกียงไว้ใต้ที่นั่ง เพื่อรักษาให้ดาวประจำตัวยังคงอยู่บนท้องฟ้า และได้ให้ทหารทำหุ่นไม้และรถม้าของตนขึ้นมาสามตัว เพื่อหลอกสุมาอี้ ซึ่งเมื่อสุมาอี้ได้ยกทัพมา ก็ได้มีการหลอกสุมาอี้เช่นนั้นจริงทั้งสามทาง ทำให้สุมาอี้ตกใจกลัวด้วยไม่รู้ว่า ขงเบ้งจะมาทางทิศไหนกันแน่ จึงยกทัพหนี พร้อมกันนั้นยังได้นัดหมายให้[[ม้าต้าย]] และ[[เอียวหงี]] จัดการสังหารอุยเอี๋ยน ซึ่งขงเบ้งมองออกว่าจะทำตัวเป็นกบฏหลังจากตนสิ้นชีพไปแล้ว ซึ่งอุยเอี๋ยนก็กระทำเช่นนั้นจริง ด้วยการตั้งตนเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่ผู้ใด ม้าต้ายแสร้งทำเป็นสวามิภักดิ์ด้วย พร้อมยกยอให้อุยเอี๋ยนมีบุญวาสนาเหมาะกับเป็นจักรพรรดิ์องค์ต่อไป อุยเอี๋ยนซึ่งกำลังลำพองไม่ทันได้ระวังตัว จึงโดนม้าต้ายซึ่งชักม้ามาอยู่เคียงข้างฟันด้วยกระบี่ขาดใจตายทันที
== ศึกสงครามในสามก๊ก ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[สามก๊ก]]
* [[กลศึกสามก๊ก]]
 
โดยสถานที่ ๆ ขงเบ้งสิ้นใจนั้น คือ ทุ่งอู่จั้ง หรือที่ราบอู่จั้ง เป็นที่ราบสูงอยู่ใกล้กับ[[แม่น้ำเว่ย]] อยู่ห่างประมาณ 56 กิโลเมตรจากตัวเมือง[[เปาจี๋]] มณฑลส่านซีในปัจจุบัน และอยู่ห่างจากเมือง[[ซีอาน]]ไปทางตะวันตกประมาณ 150 กิโลเมตร ทุ่งอู่จั้งเป็น[[ที่ราบสูง]]แห่งหนึ่งในประเทศจีน มีความสูงประมาณ 150 ฟุต ปัจจุบันได้มีศาลเจ้าขงเบ้งตั้งอยู่ ภายในศาลประกอบด้วยรูปเคารพขงเบ้ง พร้อมกับนายทหารคู่ใจอีกสี่นาย คือ [[กวนหิน]], [[อองเป๋ง]], [[เตียวเปา]] และ[[เลียวฮัว]] โดยมีม้าต้ายเป็น[[ทวารบาล]] และ ณ ที่นี่ยังมีสุสานฝังชุด, หมวก และพัดขนนกของขงเบ้งอยู่ด้วย<ref>[[เฉินโซ่ว|Chen, Shou]]. ''[[จดหมายเหตุสามก๊ก|Records of the Three Kingdoms (Sanguozhi)]]''.</ref>
<ref>Fang, Xuanling et al. ''Book of Jin (Jin Shu)''.</ref>
<ref>Luo, Guanzhong. ''Romance of the Three Kingdoms'', ch. 103-104.</ref>
<ref>Pei, Songzhi. ''Annotations to Records of the Three Kingdoms (Sanguozhi zhu)''.</ref>
<ref>Sima, Guang. ''Zizhi Tongjian'', vol. 72.</ref>
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
{{สงครามสามก๊ก}}
 
[[หมวดหมู่:สงครามสามก๊ก|อู่จั้งหยวน]]