ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูกระด้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name =
| image = Erpeton tentaculatum in Pata Zoo 1HerpetonTentaculatumFord.jpg
 
| image_caption = งูกระด้างใน[[สวนสัตว์พาต้า]]
| image_caption = ภาพวาดของงูกระด้าง
| image2 = Head of Erpeton tentaculatus.png
| image2_caption = ส่วนหัวของูกระด้าง
เส้น 46 ⟶ 47:
 
จากความแปลกประหลาดและไม่เป็นอันตรายนี้ อีกทั้งยังเป็นงูที่หาได้มายาก ราคาจึงไม่แพง ทำให้งูกระด้างเป็นที่นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]] สำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยง[[สัตว์เลื้อยคลาน]]หรือสัตว์แปลก ๆ โดยสามารถเลี้ยงได้ใน[[ตู้ปลา]] โดยการจัดสภาพแวดล้อมในที่เลี้ยงให้เลียนแบบธรรมชาติ โดยใส่น้ำเพียงตื้น ๆ ให้งูพออาศัยและใช้กิ่งไม้หรือขอนไม้วางไว้ เพื่อให้งูเกาะเกี่ยวได้ ให้อาหารโดยใช้ลูกปลาขนาดเล็กที่ว่ายน้ำช้า เช่น [[ปลากัด]], [[วงศ์ปลาสอด|ปลาสอด]] และ[[ปลาหางนกยูง]] เป็นต้น
|[[ภาพ:Erpeton image_captiontentaculatum =in Pata Zoo 1.jpg|thumb|left|งูกระด้างในที่[[สวนสัตว์พาต้า]]]]
 
ซึ่งในแวดวงสัตว์เลี้ยง บางครั้งจะมี[[ภาษาเฉพาะวงการ|ภาษาเฉพาะ]]เรียกงูกระด้างว่า "งูอะโรวาน่า" อันเนื่องจากหนวด 2 เส้นนี้ที่แลดูคล้ายหนวดของ[[ปลาอะโรวาน่า]]<ref>PaaYuu, ''งูกระด้าง'' คอลัมน์ เราไม่แปลก, นิตยสารโลกวันนี้วันสุข ปีที่ 6 ฉบับ 269 วันที่ [[24 กรกฎาคม|24]]-[[30 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2553]] หน้า 54</ref>