ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทือกเขาคุนหลุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Abnkei (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
== สภาพทางภูมิศาสตร์ ==
 
เทือกเขาคุนหลุนทอดตัวไปตามชายแดนตะวันตกภูมิของภาคประเทศจีนในแนว ต่อลงไปทางใต้ เคียงข้างเทือกเขาปามีร์ แล้วโค้งไปทางตะวันออก ก่อให้เกิดเทือกเขากั้นพรมแดนทางเหนือของทิเบต เทือกเขานี้ทอดไปตามขอบด้านใต้ ในบริเวณที่ปัจจุบันเรียกว่า แอ่งทาริม (Tarim Basin) ทาคลา มาคาน หรือ ทะเลทราย "บ้านจมทราย" (sand-buried houses) และ[[ทะเลทรายโกบี]]
 
เทือกเขาแห่งนี้มียอดเขามากกว่า 200 แห่งที่สูงกว่า 6,000 เมตร ยอดเขาที่สูงที่สุด 3 ยอด คือ คองกูรทัค (Kongur Tagh) (7,719 เมตร) ติงเปย (Dingbei) (7,625 เมตร) และมุซทัคอะทา (Muztagh Ata) (7,546 เมตร) ยอดเขาสูงสุดเหล่านี้อยู่ในเทือกเขาอารคาทัค (Arka Tagh) มีแต่น้ำแม่น้ำสำคัญหลายสายไหลจากเทือกเขานี้ เช่น แม่น้ำการากาช ('แม่น้ำหยกดำ') และแม่น้ำยุรุงกาช ('แม่น้ำหยกขาว') ซึ่งไหลผ่านโอเอซิส[[โขตาน]] ผ่านไปยังทะเลทรายทาคลามาคาน
 
เทือกเขาอารคาทัคอยู่ในใจกลางของคุนหลุนซาน โดยมียอดเขาอุลุค มุซทัค (6,973 เมตร) ภูเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาคุนหลุนซาน คือ ภูเขาเทพีคุนหลุน (7,167 เมตร) อยู่ในบริเวณเคริยา (Keriya)
 
สาขาทางใต้ของเทือกเขาคุนลุ้นคุนหลุน ก่อให้เกิด[[สันปันน้ำ]]ระหว่างบริเวณลุ่มน้ำของแม่น้ำที่ยาวที่สุดของจีนสองสาย นั่นคือ[[แม่น้ำแยงซี]] และ[[แม่น้ำฮวงโห]]
 
เทือกเขาแห่งนี้ก่อให้เกิดขอบด้านเหนือของ[[เพลตอินเดีย]]ในช่วงที่เกิดการชน ในตอนปลาย[[ยุคไทรแอสซิก]] กับ[[เพลตยูเรเซีย]]ซึ่งก่อใก้ให้เกิดการปิดกั้นมหาสมุทรพาเลโอเทธีส (Paleo-Tethys) ในยุคบรรพกาล
 
== ตำนาน ==