ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 92:
ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมีสาเหตุที่สามารถระบุได้ '' (ดูตาราง — สาเหตุของความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ) '' โรคไตเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ<ref name="ABC" /> ความดันโลหิตสูงยังอาจเกิดจากโรคต่อมไร้ท่อต่างๆ เช่น [[กลุ่มอาการคุชชิง]] [[ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน]] [[ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย]] [[สภาพโตเกินไม่สมส่วน]] [[กลุ่มอาการคอนน์]] (Conn's syndrome) หรือ[[ภาวะอัลโดสเตอโรนสูง]] [[ภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทำงานมากเกิน]] และ[[ฟีโอโครโมไซโตมา]]<ref name="ABC" /><ref>Dluhy RG, Williams GH. Endocrine hypertension. In: Wilson JD, Foster DW, Kronenberg HM, eds. Williams Textbook of Endocrinology. 9th ed. Philadelphia, Pa: WB Saunders; 1998:729-49.</ref> สาเหตุอื่นๆ ของความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิเช่น [[โรคอ้วน]] [[อาการหยุดหายใจขณะหลับ]] [[การตั้งครรภ์]] [[หลอดเลือดเอออร์ตาแคบ]] (coarctation of the aorta) ยาบางชนิดและสมุนไพร เช่นการบริโภค[[ชะเอมเทศ]]มากเกิน และยาเสพติดบางชนิด<ref name="ABC" /><ref>{{cite journal |author=Grossman E, Messerli FH |title=Drug-induced Hypertension: An Unappreciated Cause of Secondary Hypertension |journal=Am. J. Med. |volume=125 |issue=1 |pages=14–22 |year=2012 |month=January |pmid=22195528 |doi=10.1016/j.amjmed.2011.05.024 |url=}}</ref>
 
== พยาธิสรีรวิทยาธรวิทยา ==
{{บทความหลัก|พยาธิสรีรวิทยาของความดันโลหิตสูง}}
[[ไฟล์:Arterial pressure diagram.png|thumb|right|350px|แผนภาพแสดงปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด]]