ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอประจันตคาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Depanom (คุย | ส่วนร่วม)
Depanom (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 21:
== ประวัติเมืองประจันตคาม ==
 
ในปี พ.ศ. 2369 ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) แห่งราชวงศ์จักรี สมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ทรงพยายามกอบกู้เอกราชให้ชาวลาว โดยยกทัพมาตีเมืองนครราชสีมาจนย่อยยับ เมื่อชาวเมืองนครราชสีมารวบรวมกำลังสู้ต่อสู้กับกองทัพของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ แต่งทัพ และให้เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) แต่เมื่อครั้งเป็นที่พระยาราชสุภาวดี เป็นแม่ทัพยกไปตีนครหลวงเวียงจันทน์ เมื่อกองทัพสยามเผานครหลวงเวียงจันทน์ได้แล้ว จึงจัดการบังคับอพยพลี้พลและชาวเมืองบางส่วนจากนครหลวงเวียงจันทน์ เมืองมหาชัยกองแก้ว หัวเมืองทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง เมืองสกลนคร และอีกหลายหัวเมืองในภาคอีสานซึ่งแต่เดิมกับอาณาจักรล้านช้าง ให้เข้ามาอยู่ในอาณาเขตสยาม ฝ่ายเจ้านายลาว 4 ท่าน คือ ท้าวอุเทนบุตรท้าวสร้อย เพียเมืองแสน ท้าวฟองโอรสพระยาชัยสุนทรเจ้าเมืองกาฬสินธุ์ และท้าวอินทร์โอรสเจ้าเมืองสกลนคร ซึ่งคุมกำลังพลเป็นนายกองของทัพหัวเมืองที่เจ้าเมืองส่งไปช่วยรบกับทัพสยาม ได้ถูกบังคับให้นำไพร่พลลาวที่ถูกอพยพมาตั้งกองรวมกันอยู่เป็นหมู่บ้านใหญ่ในพื้นที่อำเภอประจันตคามปัจจุบัน ต่อมาท้าวฟองยกไพร่พลแยกไปเลือกพื้นที่ตั้งเป็นเมืองอยู่ที่กบินทร์บุรี ท้าวอินทร์ยกไพร่พลไปตั้งเมืองอยู่ที่พนัสนิคม ฝ่ายท้าวอุเทนได้รวบรวมไพร่พลไปเลือกที่ตั้งเมืองบริเวณดงยางหรือบ้านเมืองเก่าปัจจุบันแล้วตั้งเป็นเมืองขึ้น
เมื่อกองทัพสยามเผาเมืองเวียงจันทน์ได้แล้ว จึงจัดการบังคับอพยพครอบครัวลี้พลบางส่วนจากนครหลวงเวียงจันทน์ เมืองมหาชัยกองแก้ว หัวเมืองทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง เมืองสกลนคร และอีกหลายหัวเมืองในภาคอีสานให้เข้ามาอยู่ในอาณาเขตสยาม ฝ่ายเจ้านายลาว 4 ท่าน คือ ท้าวอุเทนบุตรท้าวสร้อย เพียเมืองแสน ท้าวฟองโอรสพระยาชัยสุนทรเจ้าผู้ครองเมืองกาฬสินธุ์ และท้าวอินทร์โอรสเจ้าผู้ครองเมืองสกลนคร ซึ่งคุมกำลังพลเป็นนายกองของทัพหัวเมืองที่เจ้าเมืองส่งไปช่วยรบกับทัพสยาม ได้ถูกบังคับให้นำคนที่ถูกอพยพมาตั้งกองรวมกันอยู่เป็นหมู่บ้านใหญ่ในพื้นที่อำเภอประจันตคามปัจจุบัน ต่อมาท้าวฟองยกกำลังไพร่พลแยกไปเลือกพื้นที่ตั้งเป็นเมืองอยู่ที่กบินทร์บุรี ท้าวอินทร์ยกกำลังไพร่พลไปเลือกพื้นที่ตั้งเป็นเมืองอยู่ที่พนัสนิคม ฝ่ายท้าวอุเทนได้รวบรวมกำลังไพร่พลไปเลือกที่ตั้งเมืองอีกเช่นกัน โดยเลือกทำเลที่เหมาะสมได้ที่ดงยางหรือบ้านเมืองเก่าปัจจุบันแล้วตั้งเป็นเมืองขึ้น
พ.ศ. 2376 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งท้าวอุเทนขึ้นเป็นที่ '''หลวงภักดีเดชะ''' เจ้าเมืองเมืองประจันตคามองค์แรก
เมืองประจันตคามสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2376 เมื่อตั้งเป็นเมืองเรียบร้อยแล้ว ท้าวอุเทนเจ้าเมืององค์แรกได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นที่ '''หลวงภักดีเดชะ''' หลวงภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) ว่าราชการเมืองได้ 2 ปีเศษ ก็เกิดศึกญวนมาตีเมืองพนมเปญซึ่งเป็นเมืองขึ้นของไทยในสมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์) เป็นแม่ทัพยกไปช่วยเมืองพนมเปญและเกณฑ์ไพร่พลเมืองประจันตคาม เมืองพนัสนิคม และเมืองกบินทร์บุรี รวมเป็นกองทัพหน้าส่วนหนึ่งยกไปสู้รบข้าศึกญวน ทำการรบอยู่ประมาณ 3 ปีเศษ จึงขับไล่ข้าศึกญวนถอยไป เจ้าเมืองทั้ง 3 องค์ ผู้ร่วมรบมีความดีความชอบในราชการทัพมาก เมื่อกลับมาก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นชั้นพระในราชทินนามเดิมทั้ง 3 องค์ ฝ่ายเจ้าเมืองประจันตคามได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นที่ '''พระภักดีเดชะ''' ต่อมาประมาณ 1 ปี ข้าศึกหวนกลับมาตีเมืองพนมเปญอีก เจ้าเมืองฝ่ายตะวันออกได้รับใบบอกและโปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์ไพร่พลไปช่วยรบ พระภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) นำกำลังพลชาวเมืองประจันตคามเข้ากองทัพร่วมกับเจ้าเมืองกบินทร์ ส่วนเจ้าเมืองพนัสนิคมอันเป็นหัวเมืองชายทะเล นัยว่าถูกเกณฑ์เข้าประจำกองทัพเรือในกรุงเทพมหานคร ในราชการทัพครั้งนี้พระภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) เสียทีแก่ข้าศึกสิ้นชีพิตักษัยในที่รบเยี่ยงวีรบุรุษ รวมเวลาปกครองเมืองประจันตคาม 6 ปี และเป็นต้นตระกูล '''เดชสุภา''' แห่งอำเภอประจันตคามในปัจจุบัน
ต่อมาประมาณ 1 ปี ข้าศึกหวนกลับมาตีเมืองพนมเปญอีก เจ้าเมืองฝ่ายตะวันออกได้รับใบบอกและโปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์คนไปช่วยรบ พระภักดีเดชะ (อุเทน) ได้นำกำลังพลชาวเมืองประจันตคามเข้ากองทัพร่วมกับเจ้าเมืองกบินทร์เช่นครั้งก่อน ส่วนเจ้าเมืองพนัสนิคมในฐานะเป็นหัวเมืองใกล้ทะเล นัยว่าถูกเกณฑ์ไปเข้าประจำกองทัพเรือในกรุงเทพมหานคร ในการไปราชการทัพครั้งนี้พระภักดีเดชะ (อุเทน) เจ้าเมืองประจันตคามเสียทีแก่ข้าศึกถึงแก่อนิจกรรมในที่รบเยี่ยงวีรบุรุษ รวมเวลาปกครองเมืองประจันตคาม 6 ปี
ขณะนั้น เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์) แม่ทัพ เห็นว่าบุตรพระภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) มีอายุยังเยาว์นัก ไม่สามารถจะว่าราชการเมืองได้ จึงแต่งตั้งท้าวอินทร์บุตรของพี่สาวพระภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) ซึ่งเวลาขณะนั้นเป็นที่หลวงศักดาสำแดง ยกกระบัตรเมืองประจันตคาม ขึ้นรั้งตำแหน่งเจ้าเมือง ให้ท้าวคำ น้องท้าวอินทร์ ซึ่งขณะนั้นเป็นที่ขุนอรัญไพรศรี รั้งตำแหน่งปลัดเมือง ควบคุมไพร่พลเมืองประจันตคามทำการรบต่อไป ราชการทัพครั้งที่ 2 นี้ รบอยู่นานประมาณ 6 ปี จึงมีชัยชนะต่อข้าศึกญวน เมื่อเสร็จศึกสงครามกลับมาแล้ว หลวงศักดาสำแดง (ท้าวอินทร์) ผู้รั้งตำแหน่งเจ้าเมืองประจันตคามได้รับบำเหน็จความชอบในที่รบ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นที่พระภักดีเดชะ (ท้าวอินทร์) เจ้าเมืองประจันตคามสืบต่อเป็นท่านองค์ที่ 2 ฝ่ายขุนอรัญไพรศรี (ท้าวคำ) ผู้น้องเจ้าเมืองคนองค์ใหม่ ได้เป็นที่หลวงสุรฤทธา รฤทธาปลัดเมือง ส่วนท้าวโทบุตรเจ้าเมืองคนองค์แรกซึ่งเสียชีวิตในที่รบ มีอายุและความสามารถพอจะรับราชการได้จึงได้รับบำเหน็จตกทอดจากบิดาให้เป็นที่ขุนอรัญไพรศรี ซึ่งในระยะต่อมาภายหลังได้เลื่อนเป็นที่หลวงศักดาสำแดงยกกระบัตร พร้อมกับท้าวสุวรรณบุตร ท้าวสุโท หลานพี่สาวท้าวอุเทน ได้เป็นที่หลวงศรีวิเศษผู้ช่วยราชการขวา

พระภักดีเดชะ (ท้าวอินทร์) เจ้าเมืองคนองค์ที่ 2 ว่าราชการเมืองอยู่นานถึง 44 ปี ก็สิ้นชีพตักษัย หลวงสุรฤทธา (ท้าวคำ) ปลัดเมือง น้องชายเจ้าเมืองคนองค์ที่ 2 ได้เลื่อนเป็นที่พระภักดีเดชะเจ้าเมืองคนองค์ที่ 3 หลวงศักดาสำแดง (ท้าวโท) เป็นที่หลวงสุรฤทธาปลัดเมือง พระภักดีเดชะ (ท้าวคำ) เป็นเจ้าเมืองคนที่ 3 เมื่ออายุมากแล้ว ว่าราชการอยู่ได้เพียง 6 ปี ก็สิ้นชีพตักษัย หลวงศรีวิเศษ (ท้าวสุวรรณ) ผู้ช่วยราชการขวา ได้เป็นพระภักดีเดชะเจ้าเมืองประจันตคามคนองค์ที่ 4 ส่วนฝ่ายหลวงสุรฤทธา (ท้าวโท) ปลัดเมือง บุตรพระภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) เจ้าเมืองคนองค์แรกเกิดโรคเป็นง่อย ไม่สามารถรับราชการได้แล้วขอลาออก จึงให้ท้าวพรหมา ขุนคลังบุตรคนที่ 1 ท่านแรกของเจ้าเมืองคนองค์เดิมเป็นขุนคลังขึ้นเป็นหลวงสุรฤทธา รฤทธาปลัดเมืองแทน พระภักดีเดชะ (ท้าวสุวรรณ) ว่าราชการอยู่ 13 ปี ก็สิ้นชีพตักษัย ต่อจากนั้นมาในสมัยรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5 ) แห่งราชวงศ์จักรี กำลังทรงดำริปฏิรูปการปกครองหัวเมือง จะทรงยุบหัวเมืองเล็ก เช่น เมืองประจันตคาม เมืองกบินทร์บุรี ฯลฯ ลงเป็นอำเภอ จึงยังไม่ตั้งแต่งตั้งเจ้าเมืองอีก แต่ให้หลวงสุรฤทธา (ท้าวท้าวพรหมา) ปลัดเมืองรั้งราชการอยู่ 3 ปี ก็ถึงคราวยุบเมืองประจันตคามลงเป็นอำเภอ เรียกว่า อำเภอประจันตคาม ในปี พ.ศ. 2448 รวมระยะเวลาก่อตั้งตั้งเป็นเมืองประจันตคามอยู่ตคามได้ 72 ปี
 
'''เมืองประจันตคาม ตคามมีเจ้าเมืองปกครองตามลำดับ 4 ท่าน ดังนี้'''
 
# พระภักดีเดชะ (ท้าวอุเทน) เป็นเจ้าเมือง 6 ปี
# พระภักดีเดชะ (ท้าวอินทร์) บุตรพี่สาวท้าวอุเทนเป็นเจ้าเมือง 44 ปี
# พระภักดีเดชะ (ท้าวคำ) บุตรพี่สาวท้าวอุเทนเป็นเจ้าเมือง 6 ปี
# พระภักดีเดชะ (ท้าวสุวรรณ) หลานท้าวอุเทนเป็นเจ้าเมืองอยู่ 13 ปี <ref>เขียนและพิมพ์โดยนายสามหมาย ฉัตรทอง</ref>
 
== รายพระนามและนามผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอประจันตคาม ==