ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมิศาสตร์ไต้หวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขก่อกวนที่ 6374512 สร้างโดย RUReadyGoorNot (พูดคุย)
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
จัดเรียงย่อหน้าและหัวข้อใหม่
บรรทัด 22:
ในปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ก่อนที่นายพล '''[[เจียง ไคเช็ก]]''' (General Chiang Kaishek) ([[ภาษาจีน]]:蔣中正) จะถึงอสัญกรรมไม่กี่ปี สาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นประเทศที่ร่วมก่อตั้งองค์การ[[สหประชาชาติ]] ได้สูญเสียสมาชิกภาพ ในฐานะประเทศตัวแทนชาวจีนให้กับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ในปี [[พ.ศ. 2521]] (ค.ศ. 1978) [[สหประชาชาติ]]ก็ประกาศรับรองจีนเดียวคือจีนแผ่นดินใหญ่ และตัดสัมพันธ์ทางการเมืองกับสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน ทั้ง[[สหรัฐอเมริกา]]ก็ได้ถอนการรับรองว่า[[ไต้หวัน]]มีฐานะเป็น[[รัฐ]] สถานะทางการเมืองของไต้หวันจึงซับซ้อนยุ่งยากตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา แม้เกาะไต้หวันจะปกครองตนเองด้วยระบอบประชาธิปไตย แต่ก็ไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช และกลายเป็นเกาะที่พรรคคอมมิวนิสต์จีนถือว่า เป็นมณฑลหนึ่งของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งแค่รอเวลาที่จะกลับมารวมกับจีนแผ่นดินใหญ่อีกครั้ง และพรรคคอมมิวนิสต์จีนยังประกาศอีกว่า หากจำเป็น ก็จะใช้กำลังทางทหารเข้าจัดการ หากไต้หวันประกาศเอกราชแยกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
== ภูมิศาสตร์ ==
1. ข้อมูลทั่วไป:
ไต้หวันมีพื้นที่ประมาณ 36,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดพื้นที่เล็กกว่าไทยประมาณ 14 เท่า ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ รวม 172 เกาะ เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไต้หวันหรือเกาะฟอร์โมซา รองลงมาได้แก่เกาะเผิงหู ( Penghu ) จินเหมิน (Kinmen) และมาจู่ (Matsu)
เมืองหลวง : Taipei (ไทเป)
สินค้า/บริการสำคัญ : เป็นศูนย์กลางการค้า เศรษฐกิจและการเงิน
 
ไต้หวันจัดได้ว่ามีทรัพยากรธรรมชาติน้อยมาก ที่สำคัญได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หินปูน หินอ่อนและใยหิน, ในอดีตเคยมีแร่ทองคำ หยก ถ่านหิน แต่ปัจจุบันถูกขุดจนหมดแล้ว
เมืองท่า : Kaohsiung (เกาสง) ท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดอุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรมน้ำมัน
 
สินค้า/บริการสำคัญ * '''เมืองหลวง''': Taipei (ไทเป), เป็นศูนย์กลางการค้า เศรษฐกิจ และการเงิน
อุตสาหกรรมต่อเรือ อุตสาหกรรมประมง
* '''เมืองท่า''':
Keelung (จีหลง) ท่าเรือสำคัญทางภาคเหนือ
เมืองท่า : ** Kaohsiung (เกาสง) เป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุด และเป็นเขตอุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรมน้ำมัน อุตสาหกรรมต่อเรือ และอุตสาหกรรมประมง
** Keelung (จีหลง) เป็นท่าเรือสำคัญทางภาคเหนือ
* '''เมืองเศรษฐกิจสำคัญอื่นๆ''':
เมืองเศรษฐกิจอื่นๆ สำคัญ : ** Taichung (ไทจง) เป็นศูนย์รวมสินค้าบริการ (สปา, ร้านอาหาร) สินค้าเครื่องจักรกล, และเป็นท่าเรือสำคัญทางภาคกลาง
** Hsin Chu (ซินจู๋) เป็เขตอุตสาหกรรมไฮเทค
 
== ประชากร ==
จนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2552 ไต้หวันมีประชากรทั้งสิ้น 23,063,027 คน, ชาวไต้หวันส่วนใหญ่เป็นผู้ที่อพยพมาจากมณฑลฮกเกี้ยนและกวางตุ้งของจีนแผ่นดินใหญ่ มาตั้งรกรากในราว ศตวรรษที่ 18 และ 19 และมีชาวจีนแผ่นดินใหญ่อพยพมาอีกระลอกหนึ่งในช่วงหลังปี ค.ศ. 1945 ซึ่งมาพร้อมกับการถอยร่นของรัฐบาลก๊กมินตั๋งที่นำโดยนายพลเจียงไคเช็ค กล่าวได้ว่าเกือบทั้งหมดเป็นชาวจีนเชื้อสายฮั่น (Han) โดยมีชาวเผ่าพื้นเมือง ประมาณ 4 แสนกว่าคนเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกลืนทางด้านวัฒนธรรมและภาษาเกือบหมด จนรัฐบาลต้องอนุรักษ์วัฒนธรรม ของชนพื้นเมืองเหล่านั้นไว้
เมืองเศรษฐกิจอื่นๆ สำคัญ : Taichung (ไทจง) สินค้าบริการ (สปา, ร้านอาหาร) สินค้าเครื่องจักรกล
 
ประชากรที่มีความเชื่อทางศาสนามีประมาณ 18.72 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 81.8 ของประชากรทั้งหมด, โดยมีผู้นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดคือร้อยละ 43.2, รองลงมาได้แก่ลัทธิเต๋า ร้อยละ 40.6, อี้กวันเต้า (Yi Guan Dao), ร้อยละ 4.3 นิกายโปแตสแตนท์ ร้อยละ 3.2, นิกายโรมันคาทอลิคร้อยละ 1.6
ท่าเรือสำคัญทางภาคกลาง
Hsin Chu (ซินจู๋) อุตสาหกรรมไฮเทค
ขนาดพื้นที่
มีพื้นที่ประมาณ 36,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดพื้นที่เล็กกว่าไทยประมาณ 14 เท่า ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่
 
ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาจีนกลาง (Mandarin Chinese) ภาษาจีนฮกเกี้ยนแบบไต้หวัน (Minnanese or Taiwanese) ส่วนภาษาที่ใช้ในธุรกิจคือ ภาษาจีนกลาง ภาษาจีนไต้หวัน และ ภาษาอังกฤษ
รวม 172 เกาะ เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไต้หวันหรือเกาะฟอร์โมซา รองลงมาได้แก่เกาะเผิงหู ( Penghu ) จินเหมิน
 
ระบอบ== การปกครอง ==
( Kinmen ) และมาจู่ ( Matsu )
ไต้หวันมีการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด (Constitutional Democracy) และมีประธานาธิบดี (President) เป็นประมุขของประเทศ มีนายกรัฐมนตรี (Premier) เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลบริหารประเทศ
ประชากร
จนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2552 ไต้หวันมีประชากรทั้งสิ้น 23,063,027 คน
ทรัพยากรธรรมชาติ
ไต้หวันจัดได้ว่ามีทรัพยากรธรรมชาติน้อยมาก ที่สำคัญได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หินปูน หินอ่อนและใยหิน
 
ในอดีตเคยมีแร่ทองคำ หยก ถ่านหิน แต่ปัจจุบันถูกขุดจนหมดแล้ว
เชื้อชาติ
ชาวไต้หวันส่วนใหญ่เป็นผู้ที่อพยพมาจากมณฑลฮกเกี้ยนและกวางตุ้งของจีนแผ่นดินใหญ่ มาตั้งรกรากในราว
 
ศตวรรษที่ 18 และ 19 และมีชาวจีนแผ่นดินใหญ่อพยพมาอีกระลอกหนึ่งในช่วงหลังปี 1945 ซึ่งมาพร้อมกับการถอยร่นของ
 
รัฐบาลก๊กมินตั๋งที่นำโดยนายพลเจียงไคเช็ค กล่าวได้ว่าเกือบทั้งหมดเป็นชาวจีนเชื้อสายฮั่น (Han) มีชาวเผ่าพื้นเมือง
 
ประมาณ 4 แสนกว่าคนเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกกลืนทางด้านวัฒนธรรมและภาษาเกือบหมด จนรัฐบาลต้องอนุรักษ์วัฒนธรรม
 
ของชนพื้นเมืองเหล่านั้นไว้
ศาสนา
ประชากรที่มีความเชื่อทางศาสนามีประมาณ 18.72 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 81.8 ของประชากรทั้งหมด โดย
 
มีผู้นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดคือร้อยละ 43.2 รองลงมาได้แก่ลัทธิเต๋า ร้อยละ 40.6 อี้กวันเต้า (Yi Guan Dao)
 
ร้อยละ 4.3 นิกายโปแตสแตนท์ ร้อยละ 3.2 นิกายโรมันคาทอลิคร้อยละ 1.6
ภาษา
ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาจีนกลาง (Mandarin Chinese) ภาษาจีนฮกเกี้ยนแบบไต้หวัน
 
(Minnanese or Taiwanese) ส่วนภาษาที่ใช้ในธุรกิจคือ ภาษาจีนกลาง ภาษาจีนไต้หวัน และ ภาษาอังกฤษ
 
ระบอบการปกครอง
มีการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด (Constitutional Democracy)
 
และมีประธานาธิบดี (President) เป็นประมุขของประเทศ มีนายกรัฐมนตรี (Premier) เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลบริหาร
 
ประเทศ
== อ้างอิง ==
* [http://www.mfa.go.th/web/2386.php?id=64 รายละเอียดไต้หวัน] จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ