ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
'''ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์''' ({{lang-en|Battle of Trafalgar}}, 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805) เป็นการกระทำ[[ยุทธนาวี]]ระหว่าง [[ราชนาวีอังกฤษ]]กับกองเรือผสมของ[[กองทัพเรือฝรั่งเศส]]ร่วมกับ[[กองทัพเรือสเปน]] ในช่วง[[War of the Third Coalition|สงครามสัมพันธมิตรที่สาม]] (สิงหาคม-ธันวาคม 1805) ใน [[สงครามนโปเลียน]] (1803–1815)
 
ราชนาวีอังกฤษโดย 27 เรือรบภายใต้บัญชาการของ ''พลเรือโท[[ลอร์ดเนลสัน]]'' สามารถมีชนะเหนือกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปน 33 ลำ ภายใต้บัญชาการของ ''พลเรือโท ปีแยร์-ชาร์ล วีลเนิฟว์'' แห่งกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของสเปน ทางตะวันตกของ[[แหลมตราฟัลการ์]] ซึ่งกองเรือฝรั่งเศสสูญเสียเรือรบไปถึง 22 ลำโดยที่ไม่สามารรถจมเรือรบอังกฤษแม้แต่ลำเดียว
 
ชัยชนะที่งดงามของอังกฤษครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ราชนาวีอังกฤษได้รับความยอมรับสูงสุดในห้วงศตวรรษ ในฉายาของกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุด
บรรทัด 41:
''ลอร์ดเนลสัน'' นำกองเรืออังกฤษไล่ตามกองเรือฝรั่งเศสที่ฝ่าวงล้อมมาได้ จนมาถึงคาดิซ ที่นั่นราชนาวีอังกฤษสามารถโอบล้อมกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปนไว้ได้ กองเรือผสมสามารถที่จะฝ่าวงล้อมหลวมๆของเนลสันมาได้ และมุ่งหน้าไปยัง[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] เพื่อที่กองเรือผสมจะไปรวมกับกองเรือฝรั่งเศสอีก 8 ลำ ซึ่งนั่นมากพอที่จะทลายแนวป้องกัน[[ช่องแคบอังกฤษ]] ลอร์ดเนลสัน นำกองเรืออังกฤษตามกองเรือผสมมาทัน ที่ตราฟัลการ์ โดยที่อังกฤษมีเรือรบ 27 ลำ และกองเรือผสมมี 33 ลำ
 
=== แผนของลอร์ดเนลสัน ===
[[ภาพ:Trafalgar_1200hr.svg|240200px|thumb|left|แผนภาพแสดงสถานการณ์ราวเที่ยงวัน <br> {{legend|Red|กองเรืออังกฤษ|border=0}} {{legend|Black|เรือรบฝรั่งเศส|border=0}} {{legend|Blue|เรือรบสเปน|border=0}}]]
 
โดยทั่วไปแล้ว การกระทำยุทธนาวีของยุโรป จะทำในรูปแบบ ''กระบวนรบ'' ({{lang-en|line of battle}}, ↑↓) ที่กองเรือของทั้งสองฝั่งจะแล่นสวนกันในทางขนาน และแต่ละฝ่ายจะระดมยิงปืนใหญ่กราบเรือใส่กัน กองเรือทั้งสองจะแล่นเป็นเส้นขนานกันไปยิงปืนใหญ่แลกกันไป
บรรทัด 49:
 
=== วันปะทะ ===
[[ภาพ:Fall of Nelson.jpg|250326px|thumb|พลเรือโท ลอร์ดเนลสัน (ล่างขวา) ถูกยิงขณะที่บัญชาการอยู่บนดาดฟ้าเรือ ''HMS Victory'']]
เช้าวันรุ่งขึ้นกองเรืออังกฤษทำตามแผน ลอร์ดเนลสัน นำเรือธงของตนชื่อ ''HMS Victory'' มาเป็นเรือหัวกระบวนในแถวแรก คอลลิงวูด รองแม่ทัพของเนลสันก็นำเรือของตน ''HMS Royal Sovereign'' มานำหัวกระบวนในแถวที่สอง กองเรืออังกฤษพุ่งฝ่าดงกระสุนเข้าหากองเรือผสม ก่อนเข้าปะทะเนลสันให้ธงสัญญาณของเรือหลวงวิคตอรีแปรสัญญาณว่า "England expects that every man will do his duty" (อังกฤษหวังว่าทุกคนจะทำตามหน้าที่)