ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลาโรเซตตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
ส่วนการศึกษาเกี่ยวกับกฤษฎีกาบนศิลานั้นเริ่มขึ้นเมื่อมีการแปลเนื้อความภาษากรีกบนศิลาอย่างเต็มรูปแบบในปี 1803 จนราว 20 ปีให้หลัง คือ ในปี 1822 [[ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง]] (Jean-François Champollion) ชาวฝรั่งเศส จึงแถลงในกรุง[[ปารีส]]ว่า สามารถอ่านอักขระอียิปต์ได้เป็นผลสำเร็จ อย่างไรก็ดี นับแต่ค้นพบศิลาหลักนี้เป็นต้นมา ตัวศิลานั้นตกเป็นข้ออ้างในความขัดแย้งทางชาตินิยมหลายต่อหลายครั้ง และนับแต่ปี 2003 สืบมา มีการเรียกร้องอยู่เสมอว่า ให้คืนศิลากลับสู่อียิปต์
 
อนึ่ง ภายหลังยังมีการค้นพบกฤษฎีกา 2 ฉบับ ซึ่งเป็นฉบับคัดลอกของกฤษฎีกาข้างต้น แต่มีเนื้อความไม่เต็ม ทั้งมีการค้นพบจารึกอียิปต์ที่มีเนื้อหา 2 หรือ 3 ภาษา เป็นต้นว่า [[Ptolemaic Decrees|กฤษฎีกาทอเลมี]] ที่บางฉบับมีอายุเก่ากว่าศิลาโรเซตตาเล็กน้อย เช่น [[Decree of Canopus|กฤษฎีกาคาโนปัส]] (238 ปีก่อน ค.ศ.) และ[[Decree of Memphis (Ptolemy IV)|กฤษฎีกาเมมฟิส]] (ราว 218 ปีก่อน ค.ศ.) ศิลาโรเซตตาจึงไม่เป็นของพิเศษอีกต่อไป