ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KengSiri (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
}}
 
'''มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก''' ({{lang-ru|Санкт-Петербургский государственный университет อักษรย่อ СПбГУ}}) ก่อตั้งขึ้นโดย[[ซาร์ปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระเจ้าซาร์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ พระเจ้าปีเตอร์มหาราช]] ในปี [[ค.ศ. 1724]] เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของ[[ประเทศรัสเซีย]]<ref>http://www.eng.spbu.ru/university/today/</ref> มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีชื่อว่า '''มหาวิทยาลัยเลนินกราด''' ในยุค[[สหภาพโซเวียต]] มีคณาจารย์และศิษย์เก่ารางวัลโนเบลรวมจำนวน 8 คน ชื่อเสียงโด่งดังจากนิติศาสตรบัณฑิตซึ่งเป็นประธานาธิบดีของรัสเซีย 2 คน ได้แก่ [[วลาดีมีร์ ปูติน]] และ [[ดมีตรี เมดเวเดฟ]]
 
[[ไฟล์:HallwayTwelveCollegiaJune2009.JPG|thumb|left|250px|<center>ทางเดินเกียรติยศในตึก the Twelve Collegia มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก หนึ่งในทางเดินสายเกียรติยศด้านวิชาการที่ยาวที่สุดในโลก</center>]]
== คณะ ==
มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประกอบด้วย คณะวิชา จำนวน 22 คณะ สถาบันวิจัย จำนวน 13 แห่ง โรงเรียนด้านการทหาร โรงเรียนวิชาการร่วมสมัย และกรมกายภาพการกีฬา ครั้งสมัยยังอยู่ภายใต้การปกครองของ[[สหภาพโซเวียต]] มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กเคยใช้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยเลนินกราด (Ленинградский государственный университет) และเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันในปี ค.ศ. 1990
บรรทัด 33:
[[ไฟล์:VO Universitet 12 Kollegiy 15-04-2004.jpg|250px|right|thumb|มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]
มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในสายตาชาวรัสเซียจัดว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความโดดเด่นด้านวิชาการเทียบเท่า[[มหาวิทยาลัยมอสโก]] โดยในช่วง[[สงครามเย็น]] มหาวิทยาลัยได้ส่งนักวิชาการจำนวนมากไปปักหลักทำวิจัยที่มหาวิทยาลัยมอสโกตามการบริหารประเทศของ[[สตาลิน]]ที่ต้องการสร้างอำนาจในวงการวิชาการโลก
 
 
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กอยู่ในอันดับที่ 240<ref>http://www.topuniversities.com/node/9068/ranking-details/world-university-rankings/2013</ref> จากอันดับมหาวิทยาลัยโลกของ [[QS World University Rankings]] ปี ค.ศ. 2013-2014 คณะด้านวิทยาศาสตร์มีความโดดเด่นเป็นอย่างมากจนจัดตั้งแยกออกเป็นคณะ ได้แก่ คณะเคมี คณะคณิตศาสตร์และกลศาสตร์ คณะฟิสิกส์ คณะสายสังคมศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ได่แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์ โรงเรียนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ คณะภาษาศาสตร์ คณะปรัชญา และคณะเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น