ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหม (ศาสนาพุทธ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
{{พุทธศาสนา}} ในคติพุทธศาสนา พระพรหม เป็นชาวสวรรค์ชั้นสูงขั้น
{{พุทธศาสนา}} ในคติพุทธศาสนา พระพรหม เป็นชาวสวรรค์ชั้นสูงขั้น
บรรทัด 15:
ใน[[มหายาน|คติพุทธศาสนามหายาน]]นับถือพระพรหมในฐานะ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|เทวดา]][[ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์|ผู้รักษา]][[มหายาน|พระพุทธศาสนา]][[ธรรมบาลยี่สิบสี่พระองค์|ที่สำคัญ]]ซึ่งปรากฎอยู่ใน[[พระไตรปิฎก|พระสูตร]]ต่างๆที่สำคัญใน[[มหายาน|พระพุทธศาสนา]]และถือเป็น[[พระโพธิสัตว์]]องค์หนึ่งใน[[มหายาน|คติพุทธศาสนามหายาน]]
 
== พระพรหมที่ปรากฎนามใน[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]]และบทบาทที่สำคัญใน[[ศาสนาพุทธ|คติ]][[เถรวาท|พระพุทธศาสนา]]และความเชื่อของไทย ==
{| class="wikitable"
|-
!พระนาม
!บทบาทที่สำคัญและเกี่ยวข้องใน[[ศาสนาพุทธ|คติ]][[เถรวาท|พระพุทธศาสนา]]และความเชื่อของไทย
 
|-
|[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|ท้าวมหาพรหม]]
| คำเรียกรวมสำหรับ[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|พระพรหม]]ทั้งหมดใน[[ศาสนาพุทธ|คติพระพุทธศาสนา]]หรือเรียกประมุขของ[[เทวดา (ศาสนาพุทธ)|ชาวสวรรค์]]ชั้น[[พรหมภูมิ]]
 
|-
| [[ท้าวสหัมบดีมหาพรหม]]
|ผู้เป็นอธิบดีของโลกและเป็นผู้อาธนาธรรมหลังจาก[[พระโคตมพุทธเจ้า|สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]ทรงพิจารณา[[บัวสี่เหล่า]] และเป็นต้นกำเนิดของคำอาธนาธรรม
 
|-
|[[ท้าวผกาพรหม]]
|[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|พระพรหม]]ผู้ที่[[พระโคตมพุทธเจ้า|สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]เสด็จไปปราบความคึดอันเป็น[[มิจฉาทิฏฐิ]]และเป็นที่มาของพระคาถาพาหุงบทที่แปด
 
|-
|[[ท้าวกบิลพรหม]]
| [[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|พระพรหม]]ผู้เป็นที่มาของ[[วันสงกรานต์|เทศกาลสงกรานต์]] ในชาดกท้องถิ่นของ[[ประเทศไทย]] [[ประเทศลาว]] [[ประเทศกัมพูชา]]เป็นผู้พนันธรรมกุมารและเป็นพระบิดาของ[[นางสงกรานต์|นางสงกรานต์ทั้งเจ็ดองค์]]
 
|-
| [[ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ|ท้าวมหาพรหมเอราวัณ]]
| เป็น[[เทวรูป]][[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|พระพรหม]] ประดิษฐานหน้า[[โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ]] บริเวณ[[สี่แยกราชประสงค์]] [[ถนนราชดำริ]] [[แขวงลุมพินี]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] จึงทำให้[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|ท้าวมหาพรหม]]องค์นี้ได้นามว่า ท้าวมหาพรหมเอราวัณ
|}
 
==พระพรหมในคติ[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]] ==