ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเมืองเกษเกล้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5510502 สร้างโดย Nednai.Lukmaenim (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
== พระราชประวัติ ==
=== การครองราชย์ครั้งแรก ===
'''พระเมืองเกษเกล้า''' หรือ '''พญาเกสเชษฐราช''' พระองค์เป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ]] หรือ พญาแก้ว พระราชสมภพที่เมืองน้อย ปัจจุบันอยู่ในเขต[[อำเภอปาย]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]]<ref >{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/444956 |title= พบหม้อใส่แหวนรัตนชาติใน “เมืองน้อย” ที่คุมขังโอรสพระเจ้าติโลกราชผู้ถูกใส่ร้ายจนโดนประหาร |author=|date= 29 มกราคม 2560 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 30 มกราคม 2560}}</ref> ครองราชย์ครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2068]]-[[พ.ศ. 2081|2081]] สถานภาพของพระองค์เมื่อครั้งแรกครองสิริราชสมบัตินั้น พระองค์ยังสามารถใช้ฐานอำนาจเดิมของพระราชบิดา ไม่มีความขัดแย้งของเหล่าขุนนาง เนื่องจากมีปัจจัยต่างๆ เช่นการสนับสนุนของเหล่าคณะสงฆ์และมหาเทวีตนย่าซึ่งเป็นฐานอำนาจเดิม เมื่อพระเมืองเกษเกล้าเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ได้ทะนุบำรุง[[พระพุทธศาสนา]]ตามแนวทางเดิมของพระราชบิดา โดยส่งเสริมพระภิกษุสงฆ์สำนักสีหลหรือฝ่ายป่าแดง เนื่องจากพระองค์เคยบวชในสำนักสีหลที่[[วัดโพธารามมหาวิหาร]] (วัดเจ็ดยอด) จึงให้พระครูของพระองค์มาประจำที่วัดโพธารามมหาวิหารและแต่งตั้งพระภิกษุฝ่ายสีหลให้รับสมณศักดิ์เป็นสังฆราชและมหาสามี และโปรดให้พระภิกษุอุปสมบทในนิกายสีหล ดังนั้น''[[ตำนานชินกาลมาลีปกรณ์]]''ที่เขียนโดยพระรัตนปัญญาเถระแห่งวัดโพธารามมหาวิหาร ขณะที่พระเมืองเกษเกล้าครองราชย์ได้ 1-2 ปี ได้สรรเสริญพระเมืองเกษเกล้าว่า ''"...เป็นพระเจ้าธรรมิกราชโดยแท้..."''<ref>[[พระรัตนปัญญาเถระ]]. '''ชินกาลมาลีปกรณ์''', หน้า 163</ref>
 
=== การถอดออกจากราชสมบัติ ===