ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับบทความ เอาเนื้อที่ซ้ำกับบทความสมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน ปญฺญาสีโล) ออก
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bour kry.jpg|thumb|[[สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี)]] สมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชา]]
[[ธรรมยุติกนิกาย]]เข้าสู่[[กัมพูชา]]ในปี [[พ.ศ. 2398]] โดย[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์]] ได้อาราธนา[[สมเด็จพระมหาปานสุคนธาธิบดี (Preahปาน Saukonn Pan/Maha Panปญฺญาสีโล)|พระมหาปาน ปญฺญาสีโล]] ซึ่งเป็นภิกษุชาวกัมพูชาที่เข้ามาบวชในคณะธรรมยุตให้กลับตั้งคณะธรรมยุตที่กัมพูชา ต่อมาพระมหาปานได้เป็นพระสังฆราชฝ่าย[[ธรรมยุติกนิกาย]]พระองค์แรกของกัมพูชา
ปัจจุบัน[[สมเด็จพระอภิสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี (บัวร์ กรี)]] ทรงเป็นพระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติกนิกายพระองค์ที่ 2 แห่งกัมพูชา พำนักอยู่ที่[[วัดปทุมวดีราชวราราม]] [[กรุงพนมเปญ]]
 
== ประวัติ ==
==ประวัติความเป็นมาธรรมยุติกนิกายในกัมพูชา==
[[ธรรมยุติกนิกาย]] เป็นพุทธศาสนาที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้นเมื่อพระองค์ยังทรงผนวชในรัชกาลที่ 3 ต่อมาในปี ค.ศ. 1864 [[สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี]] (พระองค์ด้วง / ព្រះបាទ អង្គ ឌួង) ได้ขอพระราชทานธรรมยุติกนิกายไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระอมรภิรักขิต (เกิด) และ[[สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน ปญฺญาสีโล)|พระมหาปาน ปญฺญาสีโล]] (ต่อมาได้เป็นสมเด็จพระสุคนธาธิบดี พระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติ)<ref> [ศานติ ภักดีคำ,ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกรุงกัมพูชา", ในวารสาร สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2555 หน้า 3-19]</ref> และพระสงฆ์ 8 รูป อุบาสก 4 คน เดินทางไปสืบศาสนายังกรุงกัมพูชา สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดีได้ทรงอาราธนาพระมหาปานให้จำพรรษาอยู่ที่วัดศาลาคู่ (วัดอ์พิลปี) กรุงอุดงค์มีชัย พุทธศาสนาแบบธรรมยุติกนิกายจึงเริ่มมีขึ้นในประเทศกัมพูชาตั้งแต่ครั้งนั้น
===ธรรมยุตินิกายเข้าสู่กัมพูชา===
[[ธรรมยุติกนิกาย]] เป็นพุทธศาสนาที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้นเมื่อพระองค์ยังทรงผนวชในรัชกาลที่ 3 ต่อมา[[สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี]] (พระองค์ด้วง / ព្រះបាទ អង្គ ឌួង) ได้ขอพระราชทานธรรมยุติกนิกายไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระอมรภิรักขิต (เกิด) และพระมหาปาน (ต่อมาได้เป็นสมเด็จพระสุคนธาธิบดี พระสังฆราชฝ่ายธรรมยุติ)<ref> [ศานติ ภักดีคำ,ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกรุงกัมพูชา", ในวารสาร สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2555 หน้า 3-19]</ref>
 
พุทธศาสนาเถรวาทในกัมพูชามีการแบ่งแยกเป็นครั้งแรกเมื่อมีการนำเอาธรรมยุตินิกาย (ซึ่งเน้นที่การทำให้พระธรรมวินัยบริสุทธิ์ตามที่มีมาในพระไตรปิฎก) จนจากสยามเข้ามาเมื่อเผยแพร่ ค.ศ.1864ได้ทำให้พุทธศาสนาเถรวาทในกัมพูชาเกิดการแบ่งแยกเป็น 2 คณะ โดยคณะสงฆ์เถรวาทเดิมได้ชื่อว่า คณะมหานิกาย เช่นเดียวที่เกิดขึ้นในประเทศสยาม คณะธรรมยุติกนิกายในกัมพูชามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระราชวงศ์เช่นเดียวกับที่เป็นในสยามสยา มแต่คณะธรรมยุติกนิกายในกัมพูชากลับมีส่วนนำความก้าวหน้าเพียงเล็กน้อยมาสู่ชาวกัมพูชาที่ไม่ใช่เจ้านายและชนชั้นสูง อีกทั้งไม่ได้มีมีบทบาทในการนำความทันสมัยมาสู่สังคมกัมพูชาดังเช่นที่เป็นในสยาม ในขณะที่มหานิกายซึ่งเป็นนิกายดั้งเดิมซึ่งมีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยน้อยกว่า กลับมีบทบาทที่โดดเด่นกว่าคณะธรรมยุติกนิกาย<ref>ธิบดี บัวคำศรี. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. กรุงเทพมหานคร : เมืองโบราณ, 2555.</ref>
===สมเด็จพระสุคนธาธิบดี ผู้นำธรรมยุตินิกายเข้าสู่กัมพูชา===
สมเด็จพระสุคนธาธิบดี มีพระนามเดิมว่าปาน หรือ ปาง ประสูติในวันพฤหัสบดี แรม 1 ค่ำ เดือนกัตติก ปีจอ พ.ศ. 2370 ในหมู่บ้านแพรก พระเสด็จ จังหวัดพระตะบอง ไม่ปรากฏนามบิดามารดา แต่บิดามารดาของท่านได้หนีไปอาศัยอยู่ในจังหวัดพระตะบอง เนื่องจากออกญาเดโช (แทน) ก่อการจลาจล เมื่ออายุได้ 12 ปี จึงบวชเป็นสามเณรที่วัดโพธิ์ ตำบลสังแก จังหวัดพระตะบอง ในคณะมหานิกาย แล้วได้เข้ามากรุงเทพ อยู่ที่วัดสระเกศคณะมหานิกาย <ref> [ศานติ ภักดีคำ,ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกรุงกัมพูชา", ในวารสาร สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2555 หน้า 3-19]</ref>
 
ต่อมาเมื่ออายุ 21 ปี จึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ คณะมหานิกายจำพรรษาที่วัดสระเกศได้ 4 พรรษา เวลานั้นได้ถวายตัวเป็นศิษย์พระวชิรญาณเถระ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) โปรดให้ศึกษาพระวินัยในสำนักเจ้าคุณพระญาณรักขิต (สุด) เจ้าอธิการวัดบรมนิวาส คณะธรรมยุตินิกาย <ref> [ศานติ ภักดีคำ,ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกรุงกัมพูชา", ในวารสาร สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2555 หน้า 3-19]</ref>
 
ต่อมาในวันแรม 1 ค่ำ เดือนอาสาธ ปีระกา เอกศก [[พ.ศ. 2393]] [[ค.ศ.1849]] พระปานอายุ 24 ปี จึงบวชแปลงเป็นพระธรรมยุตินิกาย โดยมีพระวชิรญาณเถระเป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณรักขิต (สุด) เป็นกรรมวาจารย์ และอมราภิรักขิต (เกิด) เป็นอนุสาวนาจารย์ มีฉายาว่า "ปัญญาสีโล" ต่อมาสอบได้ความรู้เป็นเปรียญธรรมเป็น "พระมหาปาน"
 
ในปี [[พ.ศ. 2398]] สมเด็จพระหริรักษรามาธิบดี (พระองค์ด้วง) ขอพระราชทานธรรมยุตินิกายเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาธรรมยุตินิกายในกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้พระมหาปานพร้อมด้วย พระอมราภิรักขิต (เกิด) และพระสงฆ์ 8 รูป อุบาสก 4 คน เดินทางไปสืบศาสนายังกรุงกัมพูชา
 
สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี ทรงนิมนต์พระมหาปานให้จำพรรษาอยู่ที่วัดศาลาคู่ (วัดอ์พิลปี) กรุงอุดงค์มีชัย พระมหาปานได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระอริยวงศ์ พระวิมลธรรม พระมหาวิมลธรรม ตามลำดับ ภายหลังเป็นสมเด็จพระสุคนธาธิบดี<ref>ชุชุมฺ เงือน,อํพีพฺระราชปฺรไพณีพฺระมหากฺสตฺร นิง สมฺเฎจพฺระสงฺฆราช, หน้า 121 </ref>
 
[[สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน)]] เป็นกวีและปราชญ์ในราชสำนักสมเด็จพระหริรักษรามาธิศราธิบดี กับสมเด็จพระนโรดม ผลงานนิพนธ์ของท่านหลายเรื่องตกทอดมาถึงปัจจุบัน เช่น รบากษัตริย์ (พระราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา) ที่แต่งร่วมกับออกญาสุนธรโวหาร (มุก) และลเบิกอังกอร์วัดแบบเก่า (เลฺบีกองฺครวตฺตแบบจาส่) <ref>ฆีง หุก ฑี, เลฺบีกองฺครวตฺต (Paris: Association Culturelle “Pierres d’ Angkor”,
1985), pp. VIII.</ref>
 
สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน) สิ้นพระชนม์ในปี [[พ.ศ. 2437]] พระชนม์ได้ 68 พรรษา ตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวของไทยและสมเด็จพระนโรดม (พระองค์ราชาวดี) ของกัมพูชา
 
==ธรรมยุตินิกายกับความคาดหวังในสังคมกัมพูชา==
พุทธศาสนาเถรวาทในกัมพูชามีการแบ่งแยกเป็นครั้งแรกเมื่อมีการนำเอาธรรมยุตินิกาย (ซึ่งเน้นที่การทำให้พระธรรมวินัยบริสุทธิ์ตามที่มีมาในพระไตรปิฎก) จนสยามเข้ามาเมื่อ ค.ศ.1864 คณะธรรมยุติกนิกายในกัมพูชามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระราชวงศ์เช่นเดียวกับที่เป็นในสยามแต่คณะธรรมยุติกนิกายในกัมพูชามีส่วนนำความก้าวหน้าเพียงเล็กน้อยมาสู่ชาวกัมพูชาที่ไม่ใช่เจ้านายและชนชั้นสูง อีกทั้งไม่ได้มีมีบทบาทในการนำความทันสมัยมาสู่สังคมกัมพูชาดังเช่นที่เป็นในสยาม ในขณะที่มหานิกายซึ่งเป็นนิกายดั้งเดิมซึ่งมีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยน้อยกว่า กลับมีบทบาทที่โดดเด่นกว่าคณะธรรมยุติกนิกาย<ref>ธิบดี บัวคำศรี. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. กรุงเทพมหานคร : เมืองโบราณ, 2555.</ref>
 
== อ้างอิง ==