ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตปกครองและมณฑลของบริติชอินเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า เพรสิเดนซีและจังหวัดของบริติชอินเดีย ไปยัง [[เขตปกครองและมณฑลของบริติชอินเ...
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:British Indian Empire 1909 Imperial Gazetteer of India.jpg|right|thumb|270px|แผนที่ของบริติชราชในปี 1909 สีชมพูคือมณฑลของบริติชอินเดีย (ปกครองโดยอังกฤษ) สีเหลืองคือรัฐพื้นเมือง (ปกครองโดยเหล่า[[รัฐมหาราชา|มหาราชา]])]]
[[ไฟล์:IGI1908IsleBombay2(1).jpg|thumbnail|200px|เมืองเพรสิเดนซีบอมเบย์]]
 
'''จังหวัดของอินเดีย''' หรือในสมัยก่อนมีสถานะเป็น '''เพรสิเดนซี''' หรือเก่ากว่านั้นคือ '''เมืองเพรสิเดนซี''' เป็นหน่วยการบริหารในสมัย[[บริติชราช|อังกฤษปกครองอินเดีย]] ซึ่งทั้งหมดนี้ถูกเรียกรวม ๆ กันว่าบริติชอินเดีย โดยระบบเพรสิเดนซีและจังหวัดนี้ใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1612 - 1947 โดยมีการเรียกเขตการปกครองตามแต่ละช่วงเวลาดังนี้
'''มณฑลของอินเดีย''' (Provinces of India) หรือเดิมคือ '''เขตปกครอง''' (Presidency) เป็นหน่วยบริหารราชการในสมัยที่อังกฤษเข้าไปปกครองใน[[อนุทวีปอินเดีย]] สามารถแบ่งเป็นสามช่วงเวลาได้แก่
 
* ในช่วงระหว่างตั้งแต่ปี ค.ศ. 1612 - 1757 [[บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ]]ได้ตั้งบริษัททำการค้าในหลาย ๆหลายๆ แห่งบริเวณชายฝั่งทางตะวันออกของอินเดียโดยได้รับการยินยอมจากเหล่ามหาราชา ซึ่งเป็นเจ้าผู้ครองรัฐพื้นเมืองในอินเดีย คู่แข่งทางการค้าของบริษัทคืออย่างไรก็ตาม อังกฤษไม่ใช่ชาติเดียวที่เข้ามาทำประโยชน์ในอินเดีย แต่ยังมีชาติอื่นอย่าง[[ฮอลแลนด์]] และ[[ฝรั่งเศส]] ในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 18 '''เมืองเพรสิเดนซีในปกครอง''' (Presidency towns) ของอังกฤษทั้งสิ้น 3 แห่งคือ [[มัทราส]], [[บอมเบย์]] และ[[กัลกัตตา]] เริ่มเติบโตมากขึ้น
* ในปี ค.ศ. 1757 แคว้นเบงกอลขัดแย้งกับบริษัทฯจนเกิดเป็น[[ยุทธการที่ปลาศี]] อังกฤษได้รับชัยชนะและเริ่มยุค[[การปกครองของบริษัทในอินเดีย]] บริษัทประสบความสำเร็จในการมีอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนส่วนมากในอนุทวีปอินเดีย ดินแดนเหล่านี้ถูกเรียกว่า '''เขตปกครอง''' (Presidency) บริหารโดยบริษัทภายใต้การกำกับของรัฐสภาอังกฤษ
* หลังจากเกิดเหตุ[[กบฏซีปอย]]ในปี ค.ศ. 1857 รัฐสภาอังกฤษได้ตรา[[พระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858]] อำนาจการปกครองในอินเดียถูกโอนจากบริษัทไปขึ้นตรงกับสมเด็จพระราชินีนาถ ซึ่งได้ทรงตั้งข้าหลวงต่างพระองค์ไปปกครองอินเดียโดยมีที่ทำการรัฐบาลอยู่ใน[[กัลกัตตา]] เขตปกครองทั้งหมดถูกเปลี่ยนเป็น '''มณฑล'''<ref>{{Harvnb|Imperial Gazetteer of India vol. IV|1908|p=5}}</ref>
 
* ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1612 - 1757 [[บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ]]ได้ตั้งบริษัททำการค้าในหลาย ๆ แห่งบริเวณชายฝั่งของอินเดียโดยได้รับการยินยอมจากเจ้าผู้ครองรัฐพื้นเมืองในอินเดีย คู่แข่งทางการค้าของบริษัทคือ[[ฮอลแลนด์]]และ[[ฝรั่งเศส]] ในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 18 '''เมืองเพรสิเดนซี''' (Presidency towns) ทั้งสิ้น 3 แห่งคือมัทราส บอมเบย์และกัลกัตตาเริ่มเติบโตมากขึ้น
* ในช่วงระหว่างที[[บริษัทเข้าปกครองในอินเดีย]] ค.ศ. 1757 - 1858 บริษัทประสบความสำเร็จในการมีอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนส่วนมากในอินเดีย ซึ่งเรียกว่า '''เพรสิเดนซี''' อย่างไรก็ตามต่อมาเพรสิเดนซีได้ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลอังกฤษ โดยบริษัทและสมเด็จพระราชินีใช้อำนาจเหนืออินเดียร่วมกัน ในเวลาเดียวกันนั้นบริษัทเริ่มสูญเสีบสิทธิพิเศษทางการค้า
* หลังจากเกิดเหตุ[[กบฏซีปอย]]ในปี ค.ศ. 1857 อำนาจที่เหลืออยู่ของบริษัทถูกถ่ายโอนมายังรัฐบาลอังกฤษ ในช่วงสมัย[[บริติชราช]]ระหว่างปี ค.ศ. 1858 - 1947 ได้มีการขยายอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนใหม่ ๆ เช่น [[พม่าตอนบน]] อย่างไรก็ตามดินแดนที่เป็นเพรสิเดนซีเดิมถูกยุบลงเป็นจังหวัดต่าง ๆ<ref>{{Harvnb|Imperial Gazetteer of India vol. IV|1908|p=5}}</ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}