ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิสุทธินิยมทางภาษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''พิสุทธินิยมทางภาษา''' หรือ '''ความพิถีพิถันในภาษา''' ({{lang-en|linguistic purism, linguistic protectionism}}) เป็น[[คตินิยม]]ที่มีจุดมุ่งหมายจะทำให้[[ภาษา]]ใดภาษาหนึ่ง "บริสุทธิ์" หรือ "สะอาด" ที่สุด โดยนิยาม “ภาษาบริสุทธิ์” หรือ “ภาษาสะอาด” ว่าเป็นภาษาที่ปราศจากคุณสมบัติทางภาษาจากภาษาต่างชาติ ในคตินิยมนี้ จึงมีการอนุรักษ์ภาษาโดยการขจัดสิ่ง ที่เห็นว่ามาจากภาษาต่างชาติ ซึ่งสามารถอยู่ในทุกระดับของระบบภาษา เช่น ไวยากรณ์ การออกเสียง หรือ คำศัพท์ เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่วัตถุประสงค์หลักในการกำจัด มักจะเป็นคำศัพท์ <ref name="Thomas1991p108">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=G18NAQAAMAAJ |title=Linguistic purism - George Thomas - Google Books |publisher=Books.google.com |date=2010-07-23 |accessdate=2015-08-11}}</ref>
 
พิสุทธินิยมทางภาษา มักมีความเกี่ยวข้องกับ[[ชาตินิยม]] ซึ่งมักเกิดขึ้นควบคู่กับการสถาปนา[[รัฐชาติ]]
 
==รูปแบบ==