ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนางเชงสอบู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
update form wiki english
บรรทัด 7:
| coronation =
| succession = [[:en:List of Burmese monarchs|กษัตริย์แห่งหงสาวดี]]
| predecessor = [[:en:Leik Munhtaw|Leik Munhtawพระเจ้าเลตมุนธอ]]
| successor = [[:en:Dhammazedi|พระเจ้าธรรมเจดีย์]]
| suc-type = รัชกาลถัดไป
บรรทัด 40:
}}
 
'''พระนางเชงสอบู''' ([[ภาษาพม่า{{lang-my|พม่า]]: ရှင်စောပု}}, [[ภาษามอญ{{IPA-my|มอญ]]:ʃɪ̀ɴ sɔ́ pṵ|pron}}; {{lang-mnw|သေဝ်စါဝ်ပေါအ်,}}; อักษรโรมัน: Shin Sawbu,; .ในราชาธิราชฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถอดเสียงเป็น '''แสจาโป'''; 1394–1472) หรือ '''พระนางพระยาท้าว''', '''ตละเจ้าปุ''', '''พระนางพญาท้าว'''<ref>[http://www.monstudies.com/thaismf112/index.php?topic=735.0 ภาพกษัตริย์มอญที่สำคัญ ๙ พระองค์]</ref>, '''ตละเจ้าท้าว''' และ '''นางพระยาตละเจ้าเท้าท้าว'''<ref>[[หลวงวิจิตรวาทการ|หลวงวิจิตรวาทการ พลตรี]].'''งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย'''. กรุงเทพฯ:สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2549. หน้า 214</ref>; ([[ภาษามอญ{{lang-mnw|มอญ]]: ဗညားထောဝ်,}}; อักษรโรมัน: Binnya Thau) เป็นกษัตริย์หญิงแห่ง[[อาณาจักรมอญ]]เพียงพระองค์เดียวที่ปกครองชาวมอญเป็นเวลา 17 ปี ([[พ.ศ. 1996]] - [[พ.ศ. 2013|2013]]) และถือเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์ฟ้ารั่วองค์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรมอญ พระนางเป็นพระราชธิดาใน[[พระเจ้าราชาธิราช]] หลังจากพระเจ้าราชาธิราชเสด็จสวรรคต ได้มีกษัตริย์สืบต่อมาอีกหลายพระองค์ จนสิ้นรัชทายาทที่เป็นบุรุษ จึงได้ยกพระนางขึ้นปกครองแทน
 
== พระราชประวัติ ==
'''พระนางเชงสอบู''' เป็นพระราชธิดาใน[[พระเจ้าราชาธิราช]] แห่งกรุง[[หงสาวดี]] [[อาณาจักรมอญ]] เมื่อพระราชบิดาคือพระเจ้าราชาธิราชสิ้นพระชนม์ พระโอรสองค์ใหญ่ไม่ได้ราชสมบัติสวรรคต ผู้ที่ได้สืบทอดสืบราชสมบัติเป็นพระโอรสองค์ที่สองที่ได้พระนามว่าต่อคือ พระธรรมราชา ครองกรุงหงสาวดี แต่พระอนุชาของพระองค์พระยารามและพระยาแคงพระโอรสองค์ที่สามไม่พอใจ จึงไปสวามิภิกดิ์กับพม่าสวามิภักดิ์กับพระเจ้าสีหสู แห่งกรุงอังวะ พระธรรมราชาไม่ปรารถนาที่จะรบพุ่งกับพม่า พระองค์จึงได้ประนีประนอมกับพระอนุชาให้พระยาแคงไปรามเป็นมกุฎราชกุมารครองเมือง[[เมาะตะมะพะสิม]] และให้พระยารานแคงไปครองเมือง[[พะสิมเมาะตะมะ]] ภายหลังพระยารามได้นำพระขนิษฐาของพระองค์คือพระนางเชงสอบู ส่งไปถวายแก่พระเจ้าสีหสู แห่งกรุงอังวะ ซึ่งเป็นการตอบแทนที่ได้ช่วยเหลือให้พระองค์ได้ขึ้นเสวยราชย์ที่พะโคหรือกรุงหงสาวดี ขณะนั้นพระนางมีพระชนมายุ 29 พรรษา เป็นแม่ม่ายมีพระโอรส 1 พระองค์ และพระธิดา 2 พระองค์ ได้แก่พระยาวรุพระยาพารู (Byinnya Paru), เนตาคาต่อตอ (Netaka Taw) และเนตาคาถิ่น (Netaka Thin)<ref name=my-2-58>Kala Vol. 2 2006: 58</ref>
 
===ความขัดแย้ง===
พระเจ้าสีหสูได้มีความหลงใหลเสน่หาแก่พระนางเป็นอย่างยิ่ง ทำให้พระนางเชงโบเม (Shin Bo Mai) พระมเหสีเก่าซึ่งมีสายสัมพันธ์กับทางไทใหญ่ เกิดความอาฆาตริษยา พระนางเชงโบเมจึงไปสมคบคิดกับไทใหญ่ให้ยกทัพมาตีอังวะ กลายเป็นสงครามที่รุนแรง พระเจ้าสีหสูทรงออกรบเองจนสิ้นพระชนม์สวรรคตใน [[พ.ศ. 1969]] พระโอรสที่เกิดกับพระชายาองค์เก่าจึงได้ครองราชสมบัติ แต่สงครามยังไม่สิ้นสุดลง กษัตริย์องค์จึงสิ้นพระชนม์ต่อมาก็สวรรคต ต่อมามีคนชื่อมังตราคุมสมัครพรรคพวกฆ่าพระนางเชงโบเมทิ้งเสีย แล้วตั้งตนเป็นพระเจ้ากรุงอังวะ<ref>'''งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย'''. หน้า 214</ref>
 
===คืนสู่หงสาวดี===
เมื่อพระมหาปิฎกธรพระสงฆ์ที่พระนางเชงสอบูทรงอุปถัมภ์ทราบเรื่องว่าพระนางไม่สามารถกลับมายังเมืองหงสาวดีได้ จึงพาศิษย์สี่คนไปคิดกลอุบายพานางตละเจ้าท้าวมาขึ้นครองราชย์ในแผ่นดินหงสาวดีได้สำเร็จ ส่วนพระมหาปิฎกธรก็มีความรู้สึกไม่ดีไม่สบายใจที่ตนเข้าไปมีส่วนร่วมในการคิดกลอุบายดังกล่าวจึงเกิดความละอายและขอลาสิกขา พระยาวรุ พระโอรสของพระนางที่เกิดจากพระสวามีเก่า ได้ครองเมืองมอญหงสาวดีเมื่อ [[พ.ศ. 1989]]<ref group=note>ประชุมพงศาวดารขอม เรียก พระยาแก่ท้าว</ref> อยู่ในราชสมบัติได้เพียง 4 ปีจึงสิ้นพระชนม์สวรรคต ตอนหลังภายหลังไม่เหลือเชื้อสายของพระเจ้าราชาธิราชที่เป็นชายสืบสกุล พระนางเชงสอบูจึงได้ขึ้นเสวยราชย์ในที่สุด<ref>(Harvey, 1925, 368)</ref> ได้ตั้งพระมหาปิฎกธรเป็นรัชทายาท โดยพระนางอยู่ในราชสมบัติ 7 ปี โดยพระนางได้ตั้งพระธรรมเจดีย์เป็นรัชทายาท และต่อมาพระนางได้มอบราชสมบัติให้พระมหาปิฎกธรเป็นพระเจ้าหงสาวดี มีพระนามตามจารึกไว้ในหลักศิลากัลยาณีว่า พระเจ้ารามาธิบดี แต่พงศาวดารรามัญเรียกว่า [[พระเจ้าธรรมเจดีย์]] หรือ '''พระมหาปิฎกธร''' ส่วนพระนางเชงสอบู หลังสละราชสมบัติก็ได้ทำนุบำรุง[[พระพุทธศาสนา]]<ref>[http://www.thaigoodview.com/node/4067 เอกกษัตรีแห่งแผ่นดินมอญ | ThaiGoodView.com]</ref> จนพระนางสิ้นพระชนม์เมื่อ [[พ.ศ. 2013]]
 
==พระราชกรณียกิจ==
พระนางเชงสอบูทรงเป็นพุทธมามกะซึ่งศรัทธาในพระพุทธศาสนา อีกทั้งในเมื่อวัยเยาว์ก็มีพระทัยมุ่งมั่นในการศึกษา[[พระไตรปิฏก]] จึงทำให้ในรัชสมัยของพระองค์ พระนางพระพุทธศาสนาในเมืองหงสาวดีจึงเจริญรุ่งเรืองมาก พระนางยังได้บริจาคทองคำเท่าหนักของพระองค์เองเพื่อตีและหุ้ม[[พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง]]<ref name="Halliday, 2000, p. 101">(Halliday, 2000, p. 101)</ref> แม้หลังสละราชสมบัติแล้ว พระนางยังทำนุบำรุง[[พระพุทธศาสนา ]]ต่อจนพระองค์กระทั้งพระนางสิ้นพระชนม์เมื่อ [[พ.ศ. 2013]]
 
== พบกับสามเณรแห่งวัดศรีปรางค์ ==
พระองค์พระนางทรงได้นิมนต์สามเณรแห่ง[[วัดศรีปรางค์]]เข้ามาแสดงพระธรรมเทศนาในพระราชวังเป็นประจำ ซึ่งสามเณรท่านนี้นั้นได้เทศนาได้ดีและเป็นที่พอพระทัยของพระนางเชงสอบู จึงได้รับสามเณรท่านนี้มาเป็นบุตรบุญธรรม ต่อมา เมื่อสามเณรท่านนี้ได้มีทายุครบอายุครบที่จะสามารถอุปสมบทได้แล้ว ตละเจ้าท้าวพระนางก็ทรงจัดงานอุปสมบทขึ้นอย่างยิ่งใหญ่สมพระเกียรติตามธรรมเนียมของเชื้อพระวงศ์ (บุตรบุญธรรมของพระนางเชงสอบู) และได้มารับสมญานามว่า '''"พระมหาปิฏกธร"''' นั้นเอง
 
== เชิงอรรถ ==
บรรทัด 62:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
*หนังสือการ์ตูนความรู้ประวัติศาสตร์ชุดมหาราชันโลก 2 เชงสอบู
== บรรณานุกรม ==
* Forchammer ''Notes on the Early History and Geography of British Burma – I. The Shwedagon Pagoda, II. The First Buddhist Mission to Suvannabhumi'', publ. Superintendent Government Printing, Rangoon 1884.
* Fraser (1920) "Old Rangoon" ''[[Burma Research Society|Journal of the Burma Research Society]]'', volume X, Part I, pp.&nbsp;49–60.
* Furnivall, ''Syriam Gazetteer''.
* Guillon, Emmanuel (tr. ed. James V. Di Crocco) (1999) ''The Mons: A civilization of Southeast Asia'', Bangkok: The Siam Society.
* Halliday, Robert (2000) (Christian Bauer ed.) ''The Mons of Burma and Thailand, Volume 2. Selected Articles,'' Bangkok: White Lotus.
* Harvey, G.E. (1925) ''History of Burma: From the earliest times to 10 March 1824 the beginning of the English conquest'', New York: Longmans, Green, and Co.
* Sayadaw Athwa [The Monk of Athwa], Burmese translation of his Talaing History of Pegu used by Phayre, now in the British Museum, being manuscripts OR 3462-4.
* Saya Thein (1910) "Shin Sawbu," ''[[Burma Research Society|Journal of the Burma Research Society]]''
[Summarizing the "Thaton-hnwe-mun Yazawin" below, but also giving the slightly different chronology of the Burmese chronicle "Hmannan Yazawin"]
* Saya Thein (1912) "Rangoon in 1852" ''[[Burma Research Society|Journal of the Burma Research Society]]''.
* Schmidt, P.W. (1906) ''Slapat ragawan datow smim ron. Buch des Ragawan, der Konigsgeschichte'', publ. for Kais. Akademie der Wissenschaften by Holder, Vienna, pp.&nbsp;133–135
* Shorto, Harry Leonard (1958) "The Kyaikmaraw inscriptions," ''Bulletin of the School of Oriental and African Studies'' (BSOAS), 21(2): 361–367.
* Shorto (1971) ''A dictionary of Mon inscriptions from the sixth to the sixteenth centuries''. London: Oxford University Press.
* Shorto (tr.) (no date) Unpublished typescript translation of pp.&nbsp;34–44, 61–264 of Phra Candakanto (ed.) ''Nidana Ramadhipati-katha'' (or as on binding Rajawamsa Dhammaceti Mahapitakadhara), authorship attributed to Bannyadala (c. 1518–1572), Pak Lat, Siam, 1912.
* Singer, Noel F. (1992) "The Golden Relics of Bana Thau," ''Arts of Asia'', September–October, 1992. [Contains many interesting and original historical interpretations]
* ''Thaton-hnwe-mun Yazawin'', unpublished manuscript cited in Harvey, p.&nbsp;117, the facts about Baña Thau in this chronicle are summarised in (Hmawbi Saya Thein, 1910)
* {{cite book | last=Athwa | first=Sayadaw | title=Mon Yazawin (Slapat Rajawan) | language=Burmese | year=1785 | edition=1922 | location=Yangon | publisher=Burma Publishing Workers Association Press}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.eumon.org/index.php Photo of the gold crown of Shin Sawbu]
* [http://www.eumon.org/Shin%20Sawbu%5B1%5D.pdf Color imaginative recreation of Shin Sawbu's picture ]
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1937]]