ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| ผู้สร้าง = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ]]
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ = พ.ศ. 2506 (มณฑปสีขาว) <br> พ.ศ. 2539 (มณฑปดำ) <br> พ.ศ. 2555 - ปัจจุบัน (มณฑปทอง)
| ผู้บูรณะ = จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] (บูรณะสมบูรณ์ มณฑปขาว) <br> พล.อ.ต.[[อาวุธ เงินชูกลิ่น]] (เปลี่ยนเป็นมณฑปสีดำ) <br> [[กรมศิลปากร]] (เปลี่ยนเป็นมณฑปทอง)
| แบบสถาปัตยกรรม = [[สถาปัตยกรรมไทย]]
| โครงสร้าง =
บรรทัด 42:
เมื่อครั้งที่รัฐบาลจัดงานฉลองศิริราชสมบัติครบ 50 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2538-2539 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กำหนดการพระราชพิธีบรรจุ[[พระบรมสารีริกธาตุ]]ประดิษฐาน ณ พระเจดีย์บุษบกโลหะปราสาทเป็นพระราชพิธีแรก แห่งการทรงบำเพ็ญพระราชกุศลและได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันจันทร์ที่ [[27 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2538]]
 
สืบเนื่องจากโอกาสดังกล่าว โครงการบูรณะโลหะปราสาทครั้งล่าสุดจึงได้เกิดขึ้นใน [[พ.ศ. 2539]] สาระสำคัญของโครงการนี้ประกอบด้วย งานบูรณปฏิสังขรณ์โลหะปราสาท เริ่มจากยอดมณฑปกลาง เปลี่ยนวัสดุมุงและเครื่องประดับหลังคาเป็นโลหะและทองแดงรมดำ โดยมีนาวาอากาศเอก [[อาวุธ เงินชูกลิ่น]] (ยศในขณะนั้น ปัจจุบันเป็นยศ พลอากาศตรี) [[ศิลปินแห่งชาติ]]เป็นสถาปนิก นายสุทิน เจริญสวัสดิ์ เป็นวิศวกรโยธา และ นายประพิศ แก้วสุริยาเป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
 
ในปี [[พ.ศ. 2555]] กรมศิลปากร ร่วมกับวัดราชนัดดารามวรวิหาร จัดโครงการบูรณะโลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม โดยการปิดทองคำเปลวบนยอดทั้ง 37 ยอด โดยเริ่มดำเนินการจากชั้นบนสุดลงมา คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2560]]