ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
[[ไฟล์:Loha_Prasat2.jpg|250px|โลหะปราสาท|thumb]]
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร
| ชื่อภาษาอื่น = Loha Prasat Wat Ratchanatda
| ภาพ = Prasat Wat Ratchanatda.jpg
| คำบรรยายภาพ = โลหะปราสาท เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ที่ได้รับการบูรณะยอดมณฑปด้วยการปิดทองแล้วเสร็จเป็นส่วนใหญ่
| สิ่งก่อสร้าง =[[โลหะปราสาท]]
| เมืองที่ตั้ง = แขวงบวรนิเวศ, [[เขตพระนคร]], [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]]
| ปีสร้าง = พ.ศ. 2389<ref name="Info">[http://travel.mthai.com/news/80326.html บูรณปฏิสังขรณ์โลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม], travel.mthai.com .วันที่ 24 มี.ค. 2557</ref>
| ผู้สร้าง = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ]]
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ = พ.ศ. 2506 (มณฑปสีดำ)
| ผู้บูรณะ = จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]
| แบบสถาปัตยกรรม = [[สถาปัตยกรรมไทย]]
| โครงสร้าง =
| ขนาด = กว้าง x ยาว ด้านละ 23 วา<ref name="info2"></ref> <br>สูง 3 ชั้น มียอด 37 ยอด
| รายละเอียดอื่น = บันไดวนตรงกลาง จำนวน 67 ขั้น<ref>[http://www.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=6&Itemid=6 วัดราชนัดดารามวรวิหาร - โลหะปราสาท], สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร .สืบค้นเมื่อ 12/12/2559</ref>
| สถาปนิก = [[สมเด็จพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค)]]<ref name="info2">[http://allknowledges.tripod.com/lohaprasat.html โลหะปราสาท], นานาสาระ .สืบค้นเมื่อ 12/12/2559</ref>
| วิศวกร =
| ตกแต่งภายใน =
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล =
| สิ่งที่น่าสนใจ = เป็นโลหะปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือเป็นองค์ที่ 3 ของโลก<ref name="Info"></ref><ref name="info2"></ref>
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}
 
'''โลหะปราสาท'''สร้างในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นโลหะปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือเป็นองค์ที่ 3 ของโลก สร้างอยู่ในพื้นที่[[วัดราชนัดดารามวรวิหาร|วัดราชนัดดาราม]] และอยู่ในบริเวณ [[ลานพลับพลามหาเจษฏาบดินทร]] ยอดปราสาทประดิษฐาน[[พระบรมสารีริกธาตุ]]
 
'''โลหะปราสาท'''สร้างในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นโลหะปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือเป็นองค์ที่ 3 ของโลก สร้างในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งอยู่ในพื้นที่[[วัดราชนัดดารามวรวิหาร|วัดราชนัดดาราม]] และอยู่ในบริเวณ [[ลานพลับพลามหาเจษฏาบดินทร]] ยอดปราสาทประดิษฐาน[[พระบรมสารีริกธาตุ]]
 
== ประวัติ==
โลหะปราสาท ตั้งอยู่ ณ ด้านตะวันตกของพระอุโบสถ ก่อสร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แทนการสร้างเจดีย์ โลหะปราสาทนี้ สร้างขึ้นตาม[[ประวัติพระพุทธศาสนา]] ถือเป็นโลหะปราสาทองค์ที่ 3 ของโลก โดยโลหะปราสาทหลังแรก สร้างขึ้นใน[[สมัยพุทธกาล]]โดย[[นางวิสาขามหาอุบาสิกา]] บุตรีธนัญชัยเศรษฐีแห่ง[[เมืองสาวัตถี]] เป็นปราสาท 2 ชั้น 1,000 ห้อง ยอดปราสาททำด้วยทองคำ ที่ชื่อว่า "มิคารมาตุปราสาท" ส่วนโลหะปราสาทหลังที่ 2 สร้างโดยพระเจ้าทุฏฐคามณี กษัตริย์แห่งกรุงอนุราธปุระลังกา ในราวปีพุทธศักราช 382 เป็นปราสาท 9 ชั้น 1,000 ห้อง มีความกว้างและความสูงแต่ละด้าน 100 ศอก หลังคามุงด้วยแผ่น[[ทองแดง]] ผนังเป็นไม้ประดับด้วยหินมีค่าและ[[งาช้าง]]
 
เส้น 10 ⟶ 39:
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการก่อสร้างโลหะปราสาท จนมารัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[พระประสิทธิ์สุตคุณ (แดง เขมทตฺโต)]] เจ้าอาวาส ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตบูรณะปฏิสังขรณ์หลายครั้งตามแต่กำลังทุนทรัพย์ที่หาได้ โดยบูรณะตั้งแต่ชั้นบนลงมา คือ ทำพื้น ก่อมณฑปโบกปูนสีแดง ยก[[ฉัตร]] ยอดเจดีย์ที่ชั้นบนสุดและชั้นที่ 2 ทั้งหมด ยังเหลือแต่ชั้นล่างสุดที่ไม่ได้บูรณะ
 
[[ไฟล์:Loha_Prasat2.jpg|250200px|left|โลหะปราสาท ก่อนปิดทองยอดมณฑป|thumb]]
การบูรณะโลหะปราสาทครั้งใหญ่ ดำเนินการในสมัย[[พระราชปัญญาโสภณ (สุข ปุญญรํสี)]] ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ในปี [[พ.ศ. 2506]] ทั้งนี้ได้พยายามรักษาแบบแผนดั้งเดิมของโลหะปราสาทในสมัยรัชกาลที่ 3 ไว้ให้มากที่สุด นับว่าโลหะปราสาทได้บูรณปฏิสังขรณ์จนเสร็จสมบูรณ์ในครั้งนี้ โดย[[กรมโยธาเทศบาล]]เป็นผู้รับผิดชอบในครั้งนี้
 
เส้น 17 ⟶ 47:
 
ในปี [[พ.ศ. 2555]] กรมศิลปากร ร่วมกับวัดราชนัดดารามวรวิหาร จัดโครงการบูรณะโลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม โดยการปิดทองคำเปลวบนยอดทั้ง 37 ยอด โดยเริ่มดำเนินการจากชั้นบนสุดลงมา คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2560]]
 
== ดูเพิ่มเติม ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|position=left|Wat Ratchanatdaram|โลหะปราสาท}}
*[[วัดราชนัดดารามวรวิหาร]]
 
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:เขตพระนคร|ล]]
{{สร้างปี|2389}}