ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gift2say (คุย | ส่วนร่วม)
ประวัติ นพ.สุรพล อิสรไกรศีล
Supasate (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
สุรพล อิสรไกรศีล หรือ Surapol Issaragrisil, M.D., professor เป็นศาตราจารย์ นายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับโลหิตวิทยา Hematology
หรือโรคเลือด ประจำ รพ. ศิริราช เป็นแพทย์ที่ได้รับการยอมรับระดับ นานาชาติ และเป็น Director ประจำภาควิชาโลหิตวิทยา รพ.ศิริราช นอกจากนั้น ยังเป็นราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ประเภทวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาแพทย์ศาสตร์ ราชบัณฑิต และ เป็น [http://www.thaifstt.org/index1/index.php/89-2015-06-02-02-48-10/2015-06-02-02-50-52/2012/88-2012 บุคคลคุณภาพแห่งปี 2012 ด้านวิทยาศาตร์] และเป็นผู้อำนวยการอาวุโส ศูนย์โลหิตวิทยากรุงเทพ โรงพยาบาลวัฒโนสถ (ที่ปรึกษางานด้านโลหิตวิทยา และการปลูกถ่ายไขกระดูกในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนหลายแห่ง) Bone Marrow Transplant และ ยังเป็นผู้อำนวยการ ศูนย์ปลูกถ่ายไขกระดูกจุฬาภรณ์ โรงพยาบาลศิริราช, อาจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล [http://www.thaifstt.org/index1/index.php/89-2015-06-02-02-48-10/2015-06-02-02-50-52/2012/88-2012 เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2493] ที่ อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี สำหรับการศึกษา วุฒิบัตร และ fellowship มีดังนี้ [http://www.thaifstt.org/index1/index.php/89-2015-06-02-02-48-10/2015-06-02-02-50-52/2012/88-2012 XXX] ประวัติการทำงาน สำหรับ ข้อมูลประวัติเป็นภาษาอังกฤษไปที่ http://siscr.org/th/surapol-issaragrisil/ และ หน้าเพจ
--
==กรงฟาราเดย์==
กรงฟาราเดย์หรือฟาราเดย์ชิลด์คือทรงปิดที่กีดขวางสนามไฟฟ้าได้ มันถูกสร้างจากวัตถุนำไฟฟ้าหรือร่างแหของวัตถุนั้น กรงฟาราเดย์ตั้งชื่อตาม [[ไมเคิล ฟาราเดย์]] ผู้คิดค้นในปี ค.ศ. 1836
 
กรงฟาราเดย์ทำงานได้เนื่องจากสนามไฟฟ้าภายนอกทำให้ประจุภายในวัตถุนำไฟฟ้า กระจายไปในลักษณะที่ทำให้สนามไฟฟ้าภายในหักกลบกันเอง ปรากฏการณ์นี้ถูกใช้เพื่อปกป้องอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่อ่อนไหวจากการแทรกสอดของคลื่นวิทยุ (RFI) กรงฟาราเดย์อาจถูกใช้ห่อหุ้มอุปกรณ์ที่สร้าง RFI อย่าง [[ทรานสมิตเตอร์]] เพื่อป้องกันไม่ให้คลื่นวิทยุรบกวนอุปกรณ์รอบข้าง กรงอาจถูกใช้เพื่อปกป้องคนหรืออุปกรณ์จากกระแสไฟที่พบในธรรมชาติอย่าง [[ฟ้าผ่า]] หรือ [[การถ่ายเทประจุไฟฟ้า]] (Electrostatic Discharge) เนื่องจากตัวกรงจะนำไฟฟ้าและปกป้องพื้นที่ภายในไว้ได้
 
กรงฟาราเดย์ไม่สามารถกีดขวางสนามแม่เหล็กสถิต หรือสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนอย่างช้าๆ ตัวอย่างเช่น สนามแม่เหล็กโลก (ทำให้เข็มทิศยังคงทำงานได้ในกรง) แต่ในกรณีการเปลี่ยนแปลงรุนแรง ตัวกรงจะสามารถป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถ้าวัสดุทำกรงหนาพอ และ รูภายในเล็กกว่าความยาวคลื่นตกกระทบอย่างมีนัยสำคัญ
 
กรงฟาราเดย์สามารถกีดขวางและลดทอนคลื่นได้บางชนิดเท่านั้น คลื่นจากอุปกรณ์ RFID ชนิดความถี่สูงมีความเป็นไปได้ที่จะทะลุผ่าน กรงเหล็กแบบตันจะทำหน้าที่กีดขวางสัญญานได้ดีกว่า
 
== ประวัติ ==
ไมเคิล ฟาราเดย์ ในปี ค.ศ. 1836 สังเกตว่าประจุไฟฟ้าส่วนเกินในตัวนำจะอยู่แต่ฝั่งด้านนอกเท่านั้น และไม่ส่งผลใดๆ ต่อพื้นที่ภายใน
เพื่อสาธิตความจริงข้อนี้ เขาสร้างห้องที่บุด้วยฟอยล์และปล่อยประจุไฟฟ้าสถิตโวลต์สูงจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าใส่ผนังด้านนอก เขาใช้เครื่อง
อิเล็กโทรสโคปเพื่อแสดงว่าไม่มีประจุไฟฟ้าประกฏในพื้นที่ภายในห้อง
 
ถึงแม้ว่าชื่อของกรงจะตั้งเป็นเกียรติแก่ฟาราเดย์ แต่ เบนจามิน แฟรงคลินในปี ค.ศ. 1755 เป็นผู้ที่สังเกตเห็นปรากฏการณ์ก่อน จากการเลื่อจุกไม้คอร์กที่ห้อยบนเส้นไหมลงผ่านรูบนกระป๋องที่ถูกเหนี่ยวนำไว้ก่อน ผลคือจุกไม้คอร์กไม่เลื่อนไปติดผนังกระป๋องด้านใดด้านหนึ่งและแม้ว่าจุกไม้จะสัมผัสกับก้นกระป๋อง เมื่อนำออกมาไม่พบว่าจุกคอร์กได้ถูกเหนี่ยวนำตาม ทั้งที่หากทำกับผนังด้านนอก ผลจะเป็นในทางกลับกัน
 
== การทำงาน ==
กรงฟาราเดย์สามารถอธิบายโดยง่ายเทียบเคียงกับตัวนำไฟฟ้ากลวงในอุดมคติ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกผ่านจากทั้งภายนอกและภายใน จะส่งผมให้เกิดแรงบน[[พาหะของประจุไฟฟ้า]] (อิเล็กตรอน) ภายในตัวนำ เกิดเป็นกระแสไฟฟ้า เมื่อพาหะกระจายตัวไปในทางที่หักลบกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใส่เข้ามาแล้ว กระแสก็จะหยุดไหล
 
<!-- กรุณาอย่าแก้ไขบรรทัดนี้ ขอบคุณครับ/ค่ะ -- Please leave this line as they are. Thank you! -->