ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chalita121675 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
Chalita121675 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37:
 
ใน[[เขตร้อน]] จะแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่ [[ฤดูร้อน]] [[ฤดูหนาว]] (รวมกันเรียกว่า "[[ฤดูแล้ง]]") และ[[ฤดูฝน]]
 
ฤดูร้อน
 
เริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงที่เปลี่ยนจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นมรสุมตะวันตกเฉียงใต้(หรือที่เปลี่ยนจากฤดูหนาวเข้าสู่ฤดูฝน)เป็นระยะที่ขั้วโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์โดยเฉพาะในเดือนเมษายนประเทศไทยจะเป็นประเทศหนึ่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่ลำแสงของดวงอาทิตย์จะตั้งฉากกับผิวพื้นโลกในเวลาเที่ยงวันทำให้ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่างเต็มที่จึงทำให้สภาวะอากาศร้อนอบอ้าวโดยทั่วไปในฤดูนี้แม้ว่าประเทศไทยอากาศจะร้อนและแห้งแล้งแต่ในบางครั้งอาจมีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนแผ่ลงมาถึงประเทศไทยตอนบนได้ทำให้เกิดการปะทะกันระหว่างมวลอากาศเย็น ที่แผ่ลงมากับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมอยู่เหนือประเทศไทยซึ่งก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตกลงมาด้วย ก่อให้เกิดความเสียหายได้พายุฝนฟ้าคะนองที่เกิดขึ้นในฤดูนี้มักเรียกว่า "พายุฤดูร้อน"
 
ฤดูหนาว
 
ฤดูหนาวอยู่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงตั้งแต่ต้นเดือนจนถึงปลายเดือนตุลาคมยังมีฝนตกอยู่จากนั้นลมหนาว และความกดอากาศสูงที่เคลื่อนตัวมาจากประเทศจีนจะเข้าครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยอากาศจะค่อนข้างเย็นในช่วงเวลากลางคืนอุณหภูมิที่ต่ำที่สุดในประเทศไทยอยู่ที่จังหวัดเลยหากเราเฝ้ามองการเปลี่ยนแปลงของกลางวันกลางคืนตลอดในช่วง 1 ปีจะเห็นความยาวนานของกลางวันและกลางคืนเปลี่ยนไปในแต่ละวันเหตุที่เป็นเช่นนี้เป็นผลมาจากแกนหมุนของโลกเอียงทำให้แต่ละส่วนบนผิวโลกรับแสงอาทิตย์ในปริมาณที่แตกต่างกัน ความยาวนานของกลางวันกลางคืนจึงต่างกันด้วยบางช่วงทางซีกโลกเหนือได้รับแสงอาทิตย์นานกว่าแต่บางช่วงทางซีกโลกใต้ได้รับแสงอาทิตย์นานกว่าจึงเกิดฤดูกาลที่แตกต่างกันขึ้นบนโลกเราจะสังเกตได้ว่าในช่วงฤดูร้อนกลางวันจะยาวนานกว่ากลางคืนดวงอาทิตย์จะขึ้นเร็วและตกช้า ส่วนในช่วงฤดูหนาว กลางคืนจะยาวนานกว่ากลางวันโดยดวงอาทิตย์จะขึ้นช้าและตกเร็ว
ฤดูฝน
 
ฤดูฝนอยู่ในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคมและเดือนตุลาคมโดยได้รับอิทธิพลจากความกดอากาศต่ำจังหวัดที่ได้รับปริมาณน้ำฝนมากที่สุดคือจังหวัดนครพนมและจังหวัดที่มี่ปริมาณน้ำฝนน้อยที่สุดคือจังหวัดนครราชสีมาปริมาณน้ำฝนส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายนอย่างไรก็ตามปริมาณฝนที่ตกในภูมิภาคนี้นั้นไม่สามารถจะคาดเดาได้เพราะมีปริมาณไม่สม่ำเสมอโดยปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีมีความแตกต่างกันจาก 2,000 มิลลิเมตรในบางพื้นที่ไปจนถึง 1,270 มิลลิเมตรในจังหวัดที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของภูมิภาคอย่าง บุรีรัมย์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม และนครราชสีมา ในฤดูฝนสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติบางแห่งปิดทำการในบางช่วงเพราะเป็นช่วงเวลาที่ต้นไม้นานาชนิดกำลังต้องการการเจริญเติบโตขึ้นมาใหม่และอาจเป็นอันตรายต่อนักท่องเที่ยวในกรณีที่เกิดเหตุน้ำท่วมหรือดินถล่ม
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฤดูกาล"