ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดิอิมพอสซิเบิ้ล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stelios (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Stelios (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 48:
ในปี 2518 ระหว่างการกลับไปตระเวณแสดงในยุโรปครั้งที่ 2 ดิอิมพอสสิเบิ้ล ได้ทำการบันทึกเสียงเพลงสากลเป็นครั้งแรกของวง ในชื่ออัลบั้ม [[Hot pepper]]
=== ยุคปลาย===
หลังจากนี้ถือได้ว่าเกือบเป็นปลายยุคของวง ได้มีการประชุมตกลงที่จะยุบวง หลังจากวงมีอายุรวมกันมาถึง 9 ปี มีการแถลงข่าวยุบวงอย่างเป็นทางการต่อสื่อมวลชนช่วงเดือนเมษายน 2519 หลังจากนั้นได้เดินทางไปเล่นที่โรงแรมมาเจสติค [[กรุงไทเป]] [[ไต้หวัน]] โดยทำสัญญาเดือนต่อเดือน พอเริ่มทำงานหมดเดือนแรก เรวัติออกไปก่อน และได้เดินทางไปทำงานที่สวีเดน 3 เดือน ในไต้หวันทำงานค่อนข้างหนัก เพราะต้องแสดงทั้งกลางวันและกลางคืน (1 มิถุนายน-4 กันยายน 2519) หลังกลับเมืองไทยดิอิมได้แสดงในช่วงสุดท้ายที่คลับโรงแรมแมนฮัตตัน ทอปเปอร์คลับ [[ตึกนายเลิศ]] และที่เดอะฟ๊อกซ์ ชั้นใต้ดินศูนย์การค้า[[เพลินจิต]] โดยทำการแสดงคืนละ 3 แห่ง ในราวเดือนตุลาคม 2519 ก็ได้หยุดทำการแสดงอย่างเป็นการถาวรในนาม ดิอิมพอสซิเบิ้ล วงดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นตำนานของวงดนตรีสากลแบบสตริงคอมโบ วงดนตรีขวัญใจวัยรุ่นของประเทศไทยต่อมาในช่วง[[พ.ศ. 2533]]ทางวงได้กลับมาออกอัลบั้มอีกครั้งกับ[[นิธิทัศน์ โปรโมชั่น]]โดยเป็นการนำเอาเพลงยอดนิยมมาออกใหม่
 
อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2521 ดิอิมพอสซิเบิ้ล ได้มาบันทึกผลงานเพลงชุดใหม่ ในชื่ออัลบั้ม ''ผมไม่วุ่น'' เขียนเนื้อร้อง ทำนองโดย [[สุรพล โทณะวณิก]] ในอัลบั้มนี้มีเพลงเด่นๆ อย่าง ผมไม่วุ่น , เห็นแล้วหิว , มาจู๋จี๋กันไหม และ เมดเล่ย์อิมพอสซิเบิ้ล ที่เป็นการนำเพลงดังหนังไทยในอดีตคือ [[ชื่นรัก (เพลง)|ชื่นรัก]] , ลำนำรัก, หนาวเนื้อ และ โอ้รัก มารวมทำเป็นเมดเล่ย์ในเพลงเดียว แต่ทว่าไม่ประสบความสำเร็จทางยอดขายเท่าที่ควร ก่อนจะแยกย้ายกันไปอีกครั้ง
 
ต่อมาในช่วง[[พ.ศ. 2533]] ทางวงได้กลับมาออกอัลบั้มอีกครั้งกับ[[นิธิทัศน์ โปรโมชั่น]] โดยเป็นการนำเอาเพลงในอดีตของวงกลับมาบรรเลงใหม่และเพิ่มเพลงใหม่ลงไปในอัลบั้ม
 
==สรุปผลงาน==